คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การศึกษาสาเหตุของผู้เรียนที่มีต่อการไม่ส่ง งานตามกำหนดระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปวช. ปีที่ 1 รอบบ่ายกลุ่ม 1 วิทยาลัย เทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน วิทยาลัยเทคโนโลยี
Advertisements

ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน

คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ของนักศึกษาระดับ ปวส
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
สาขางานการท่องเที่ยวใน วิชาการจัดอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย : นายสิทธิชัย โกเสนตอ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เรื่อง การบันทึกรายการซื้อขายสินค้าในสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธี ใช้แบบฝึก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาววรรณนิกา บุญประเสริฐ
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี พฤติกรรม การไม่ส่งงาน / การบ้านของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชา พณิชยการ และ สาขางานเทคนิคสถาปัตยกรรมวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย การเรียนการสอนของวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ ได้แบ่งคะแนนออกเป็นสองส่วน คือ คะแนนประจำวิชา จำนวน 80 คะแนน และ คะแนนที่ปรึกษา 20 คะแนน ซึ่งคิดเป็น 80 เปอร์เซ็นต์ของคะแนนทั้งหมด โดยใน 80 เปอร์เซ็นต์นั้นอาจารย์ประจำวิชาได้เก็บคะแนน โดยการสอบเป็นรายจุดประสงค์และการส่งงานของนักศึกษา ดังนั้นการทำใบงานและการบ้านส่งผู้สอนของนักศึกษาจึงเป็นเรื่องที่สำคัญมากในการเรียนการสอนเพราะนอกจากจะมีคะแนนในส่วนของใบงานและการบ้านแล้ว ยังมีผลต่อการเรียนในคาบถัดไปด้วย เนื่องจากใบงานจะเป็นการประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียนของนักศึกษาว่ามีมากน้อยเพียงใดอีกทั้งยังเป็นการวัดพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักศึกษาได้อีกทางหนึ่ง ถ้าหากนักศึกษาไม่ได้ทำใบงานที่ผู้สอนแจกให้นักศึกษาก็จะขาดคะแนนเก็บในส่วนนั้นและผู้สอนก็ไม่สามารถประเมินความรู้ความเข้าใจของนักศึกษาได้

ปัญหาการวิจัย(ต่อ) จากการที่ผู้สอนได้สอนในรายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม ของนักศึกษา สาขาวิชา พณิชยการ และ สาขางานเทคนิคสถาปัตยกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่มักจะส่งงาน / การบ้านตรงเวลาที่ผู้สอนกำหนด มีเพียงบางคน หรือส่วนน้อยที่ไม่ส่งงานตรงเวลาที่ผู้สอนกำหนด / หรือการบ้านเลย ซึ่งทำให้ผู้สอนไม่สามารถวัดความรู้ หรือติดตามความก้าวหน้าของนักศึกษาได้ ซึ่งในบางรายวิชาอาจมีผลต่อคะแนนเก็บของนักศึกษาด้วย ดังนั้นผู้วิจัยซึ่งในฐานะที่เป็นผู้สอนประจำวิชา เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ ทำการวิจัยเพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักศึกษาในระดับ ประกาศณียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการแก้ปัญหาของนักศึกษาในเรื่องการไม่ส่งงาน / การบ้านต่อไป

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักศึกษาสาขาวิชา พณิชยกรรมและ สาขางานเทคนิคสถาปัตยกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ จำนวนห้องเรียน 3 ห้อง จำนวน 70 คน เพื่อรวบรวมข้อมูลสำหรับการแก้ปัญหาการไม่ส่งงาน / การบ้านของนักศึกษา

กรอบแนวคิด พฤติกรรมการไม่ ส่งงาน / การบ้าน ของนักศึกษา ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม พฤติกรรมการไม่ ส่งงาน / การบ้าน ของนักศึกษา พฤติกรรมการส่ง งาน/การบ้านของ นักศึกษา

สาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ตาราง แสดงให้เห็นว่าการตอบแบบสอบถามของนักศึกษาในเรื่องสาเหตุของการไม่ส่งงาน สาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ลำดับที่ ร้อยละ 1. การบ้านมากเกินไป 11 23.33 2. แบบฝึกหัดยาก ทำไม่ได้ 10 3. เนื้อหาไม่น่าสนใจ 7 26.66 4. ให้เวลาน้อยเกินไป 12 20.00 5. ครูอธิบายเร็วจนเกินไป 13 16.66 6. ไม่เข้าใจคำสั่ง 14 13.33 7. สมุดหาย 5 8. เบื่อหน่าย ไม่อยากทำ 9 9. ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง 15 10.00 10. หนังสือหาย 6 11. ลืมทำ 4 30.00 12.ไม่มีคนให้คำปรึกษา 16 13. เตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น 19 14. ติดเกมส์ 3 15. ทำกิจกรรมของโรงเรียน 18 6.66 16. ไม่พร้อมทำงานเนื่องจากไม่สบาย 17 17. ทำงานวิชาอื่นในห้องเรียน 8 18. การขาดเรียนของนักศึกษา 1 40.00 19. การลากิจ ลาป่วย 2 36.66

สรุปผลการวิจัย 1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง พบว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย จำนวน 15 คน คิดเป็น ร้อยละ 50 เป็นเพศหญิง 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 มีช่วงอายุระหว่าง 15-20 ปี จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2. การไม่ส่งงาน / การบ้าน มีสาเหตุที่สำคัญดังนี้ การขาดเรียนของนักศึกษาอยู่ในลำดับที่ 1 คิดเป็นร้อยละ (12 คน ) การลากิจ ลาป่วยอยู่ในลำดับที่ 2 คิดเป็นร้อยละ (11 คน ) ติดเกมส์อยู่ในลำดับที่ 3 คิดเป็นร้อยละ (9 คน )

ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย 1. ทราบถึงพฤติกรรมและสาเหตุของการไม่ส่งงาน/การบ้านของนักศึกษาสาขาวิชาพณิชยกรรม และ สาขางานเทคนิคสถาปัตยกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ 2. ได้แนวทางใน การแก้ปัญหาการเรียนการสอนเกี่ยวกับพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่