โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน โดยมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการอบรมสุขภาพจิตในครอบครัว
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์โครงการ 3.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโดยการอบรมให้ความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพจิตในครอบครัวและในชุมชน 3.2 พัฒนาตัวอย่างการดำเนินงานสุขภาพจิตในครอบครัวและชุมชนนำไปสู่ชนชนเข้มแข็ง.
วิธีการทางสุขศึกษา.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
กรณีตัวอย่าง: การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ผ่านกลไกสถานบันศึกษา
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
พลังชุมชนสู่การฟื้นฟู Community Resilience for Community Recovery
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือน พฤษภาคม พ. ศ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กรอบการพิจารณา Ranking ปี 2557
29 พฤษภาคม ความเป็นมา ตัวชี้วัดที่ 2.1 พีรพร พร้อมเทพ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริม การเกษตร.
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
เกรียงเดช เจริญทรัพย์
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
ผลการศึกษาการสร้างจิตอาสา ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ด้วยโครงการจิตอาสานอกสถานที่ ปีการศึกษา 2555 นางสาวสุธาริณี วาคาบายาซิ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย.

โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน โดยมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ ภาคีความร่วมมือระหว่างรัฐบาลเกาหลีกับประเทศในอาเซียน โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน โดยมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ ผู้สนับสนุน HelpAge Korea

สังสรรวันสิ้นปี ๒๐๐๗ การประชุมสัมมนาเรื่อง “พันธมิตร ร่วมใจ สร้างพลังผู้สูงวัย (Active Ageing) สู่การดูแลระยะยาว (Long Term Care) ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ 27 พฤษภาคม 2551 สังสรรวันสิ้นปี ๒๐๐๗ Year End Party 2007 HelpAge Korea

โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน หลักการ ผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสในชุมชนควรได้รับการดูแล เหตุผล ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน (ทั้งชุมชนแออัดและชุมชนดั้งเดิม) อยู่คนเดียว เหงา ว้าเหว่ ขาดการช่วยเหลือ ดูแลอย่างเหมาะสม

โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน เป้าหมาย ผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ได้รับการดูแลในชุมชนโดยชุมชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม วัตถุประสงค์ มีกระบวนการอาสาสมัครช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสในชุมชน คนในชุมชนทำงานด้วยจิตอาสาและไม่หวังผลตอบแทนที่เป็นสินจ้างรางวัลใดๆ เกิดจิตสำนึกในการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันในชุมชน มีรูปแบบที่เหมาะสมในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนโดยชุมชน

โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน หลักเกณฑ์ในการทำงาน (ตามลำดับ) หาผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย หาปัญหาและความจำเป็นของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย นำปัญหาและความจำเป็นมาพัฒนาเป็นหลักสูตรในการจัดฝึกอบรมผู้ดูแล หาผู้ดูแล อบรมผู้ดูแล (อาสาสมัคร) มอบหมายผู้สูงอายุที่จะต้องดูแลและภาระกิจหน้าที่ ติดตาม ให้การสนับสนุนงานอาสาสมัคร

โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย ยากจน เหงา อยู่คนเดียว ขาดคนดูแล มีระดับภาวะพึ่งพาตนเองต่ำ (Low ADL & Low IADL) มีภาวะซึมเศร้า

โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกอาสาสมัคร อาศัยอยู่ในชุมชนเดียวกันกับผู้สูงอายุ อาศัยอยู่นอกชมุชน แต่ไม่มีปัญหาด้านการเดินทาง มีจิตใจเอื้อารีย์ เอื้อเฟื้อต่อผู้อื่น มีเวลาว่าง มีความพร้อม และสามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ ทำงานโดยไม่หวังผลตอบแทน สินจ้างรางวัล ผ่านการอบรม (ทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ) จากมูลนิธิฯ ปฏิบัติตามกติกาที่ตกลงกับมูลนิธิฯ

จำนวนผู้สูงอายุและอาสาสมัครในปัจจุบัน จำนวนผู้สูงอายุในโครงการมีทั้งสิ้น 164 คน จำนวนอาสาสมัครในโครงการฯมีทั้งสิ้น 82 คน จำนวนอาสาสมัครที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวตนเองด้วย 19 คน

โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน บทบาทและภาระกิจของอาสาสมัคร อยู่เป็นเพื่อนผู้สูงอายุ ช่วยเหลืองานบ้าน ทำหรือพาผู้สูงอายุทำธุระกิจนอกบ้าน เฝ้าระวังภาวะเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ ส่งต่อ หรือประสานแหล่งทรัพยากรเพื่อการสนับสนุนงาน ทำบันทึกการทำงานให้กับมูลนิธิฯ (เดือนละครั้ง) ประชุมร่วมกับมูลนิธิฯ เพื่อเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาในการทำงานร่วมกัน

เยี่ยมบ้าน - กายภาพบำบัดเบื้องต้น

อาสาพิเศษ

ทำแผล

แบ่งปัน

Exchange Visit เวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์

โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน การสนับสนุนงานอาสาสมัคร ประชุมประจำเดือนเพื่อทราบถึงปัญหาและอุปสรรคในการทำงานและแนวทางแก้ไข อบรมเพิ่มเติมความรู้ ตามข้อเสนอของอาสาสมัคร (ทุกไตรมาส หรือตามความจำเป็น)

อบรมเพิ่มเติมความรู้ การเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ งานหัตถกรรม (ทำตุง โคมกระดาษ) การดูแลผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังที่บ้าน

กิจกรรมนันทนาการสำหรับอาสาสมัคร กิจกรรมสังสรรส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทำงานระหว่างกลุ่ม 2. เพื่อให้มีโอกาสพบปะสังสรรค์กับอาสาสมัครในชุมชนอื่นๆ 3. เพื่อให้อาสาสมัครได้เริ่มต้นปีใหม่ด้วยบรรยากาศของความสุข หาอ่านเพิ่มเติมได้จาก www.chiangmainews.com/ecmn/viewfa.php?id=1937

สังสรรวันส่งท้ายปีเก่าและต้อนรับปีใหม่ จำนวน: ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 64 คน สถานที่: สถานีอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าเชิงดอยสุเทพ วันที่: 27 ธันวาคม 2550

สังสรรวันปีใหม่

ขอบคุณค่ะ อะไรนะ?

มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ โดย สว่าง แก้วกันทา ผู้อำนวยการ มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ Tel.: 053 215676 Mobile: 081 724 9256 sawang@fopdevthailand.org