ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดระบบเอกสารในการประกันคุณภาพ
Advertisements

แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การวิจัย RESEARCH.
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
R2R เพื่อการพัฒนางานของเรา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
ผู้อำนวยการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
LOGO 9 เม. ย. 56 คณบดี และ ทีมบริหาร จิบน้ำชา สาย วิชาการ.
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ระบบ บริหารจัดการที่ดี. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิต บัณฑิตที่ดี
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับ คุณภาพการเรียนอิเล็กทรอนิกส์
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ผลิตภัณฑ์ที่แพทย์แนะนำ
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ กรณีศึกษา : หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ฐาปนีย์ ธรรมเมธา โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ประเด็นการนำเสนอ ระบบคุณภาพมาตรฐานการเรียนออนไลน์ 1 2 กรณีศึกษาตามระบบคุณภาพมาตรฐาน 3 แลกเปลี่ยน - ซักถาม โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

การใช้อีเลิร์นนิง: สัดส่วน น้อยกว่าร้อยละ 30 เป็นการใช้ไอซีทีเพื่อการเรียนการสอน ร้อยละ 30 ขึ้นไป เป็นการเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning หรือ Hybrid Learning )เป็นการจัดการเรียนในห้องเรียนปกติและการเรียนแบบอีเลิร์นนิงร่วมกัน ร้อยละ 80-100 เป็นการเรียนแบบอีเลิร์นนิงที่ทดแทนการเรียนในห้องเรียนปกติ โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

ระบบคุณภาพและมาตรฐาน (Quality and Standard) SLOAN-C พึงพอใจ พึงพอใจ ความคุ้มค่า นักศึกษา/ผู้รับบริการทุกคน เท่ากับระบบการจัดการศึกษาปกติทั่วไปในห้องเรียน

ความคุ้มค่าด้านงบประมาณ เกณฑ์ หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง การขยายจำนวนนักศึกษาและมีความยั่งยืนของการจัดการศึกษาแบบ e-Learning จำนวนนักศึกษา รุ่นที่ 1 276 คน รุ่นที่ 2 194 คน รวม 470 คน สถาบันการศึกษาผู้จัด e-Learning สามารถแสดงให้เห็นมูลค่าของการลงทุนที่มีผลกำไรที่เหมาะสม และค่าลงทะเบียนที่คุ้มค่าและเป็นธรรมกับผู้เรียน งบลงทุน เพื่อการผลิต courseware ปีแรก ไม่เก็บค่าลงทะเบียน มีหลักสูตรที่จัดสอนแบบ อีเลิร์นนิง 100 % โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

ประสิทธิภาพการเรียนรู้ เกณฑ์ หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง คุณภาพด้านวิชาการและการควบคุมดูแลการการจัดการเรียนการสอน จัดในรูปคณะกรรมการหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนทุกคนเป็นกรรมการหลักสูตร มีการประชุม วางแผนการสอน การจัดการรายวิชา ประเมินผล และปรับปรุงการเรียนการสอน โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

การให้บริการได้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพประสิทธิภาพ เกณฑ์ หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง มีการบริหารจัดการที่ดี มีระบบโครงสร้างด้านเทคโนโลยีที่สามารถให้บริการอย่างทั่วถึง การบริการแนะนำ แก้ปัญหาการเรียน (Tutoring Services) ระบบช่วยเหลือ ติดตาม ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน มีระบบ ผู้ช่วยสอน โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

ความพึงพอใจของคณาจารย์ เกณฑ์ หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง คณาจารย์เข้าร่วมมากขึ้น การบริหารที่โปร่งใส การดูแลทรัพย์สินทางปัญญา การแบ่งปันความรู้ความเชี่ยวชาญอย่างสุจริต จริงใจ การได้รับการฝึกอบรม การเตรียมความพร้อม ผลประโยชน์และรางวัลที่คณาจารย์ควรได้รับ อาจารย์มาจากหลาย ๆ มหาวิทยาลัย ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน สื่อ/เอกสารเป็นลิขสิทธิ์ ร่วม อาจารย์ ประชุมร่วมกันวางแนวทางการสอน สัมมนาเพิ่มพูนประสบการณ์ การเขียนเอกสาร ตำรา / ภาระงาน โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

ความพึงพอใจของผู้เรียน เกณฑ์ หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง การกำหนดให้มีเวลาแน่นอนของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน มีระบบการวัดผลและประเมินผลที่ยุติธรรมและหลากหลายวิธีอย่างเหมาะสมกับอุปนิสัยการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการตรวจสอบด้วยการออกแบบสอบถามผู้เกี่ยวข้องเช่นผู้ว่าจ้าง ศิษย์เก่า และคณาจารย์ ที่ปรึกษานักศึกษา ผู้ช่วยสอน กำหนดเวลา พูด-คุย เวลาตอบคำถาม มีเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจน การประเมินผลหลากหลายวิธี มีการสอบถามผู้เรียนทั้งก่อนเรียนและหลังเรียน โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

Institutional Resource center Curriculum and Instruction 3 I / 1 C / 2 s Institutional policy องค์ประกอบ การประกันคุณภาพแบบอีเลิร์นนิง Infrastructure of ICT Institutional Resource center Curriculum and Instruction Support for faculty Support for student โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

เรียนเชิญ ทุกท่านร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และซักถาม เรียนเชิญ ทุกท่านร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และซักถาม ขอบคุณค่ะ โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย