ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ กรณีศึกษา : หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ฐาปนีย์ ธรรมเมธา โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ประเด็นการนำเสนอ ระบบคุณภาพมาตรฐานการเรียนออนไลน์ 1 2 กรณีศึกษาตามระบบคุณภาพมาตรฐาน 3 แลกเปลี่ยน - ซักถาม โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
การใช้อีเลิร์นนิง: สัดส่วน น้อยกว่าร้อยละ 30 เป็นการใช้ไอซีทีเพื่อการเรียนการสอน ร้อยละ 30 ขึ้นไป เป็นการเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning หรือ Hybrid Learning )เป็นการจัดการเรียนในห้องเรียนปกติและการเรียนแบบอีเลิร์นนิงร่วมกัน ร้อยละ 80-100 เป็นการเรียนแบบอีเลิร์นนิงที่ทดแทนการเรียนในห้องเรียนปกติ โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
ระบบคุณภาพและมาตรฐาน (Quality and Standard) SLOAN-C พึงพอใจ พึงพอใจ ความคุ้มค่า นักศึกษา/ผู้รับบริการทุกคน เท่ากับระบบการจัดการศึกษาปกติทั่วไปในห้องเรียน
ความคุ้มค่าด้านงบประมาณ เกณฑ์ หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง การขยายจำนวนนักศึกษาและมีความยั่งยืนของการจัดการศึกษาแบบ e-Learning จำนวนนักศึกษา รุ่นที่ 1 276 คน รุ่นที่ 2 194 คน รวม 470 คน สถาบันการศึกษาผู้จัด e-Learning สามารถแสดงให้เห็นมูลค่าของการลงทุนที่มีผลกำไรที่เหมาะสม และค่าลงทะเบียนที่คุ้มค่าและเป็นธรรมกับผู้เรียน งบลงทุน เพื่อการผลิต courseware ปีแรก ไม่เก็บค่าลงทะเบียน มีหลักสูตรที่จัดสอนแบบ อีเลิร์นนิง 100 % โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
ประสิทธิภาพการเรียนรู้ เกณฑ์ หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง คุณภาพด้านวิชาการและการควบคุมดูแลการการจัดการเรียนการสอน จัดในรูปคณะกรรมการหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนทุกคนเป็นกรรมการหลักสูตร มีการประชุม วางแผนการสอน การจัดการรายวิชา ประเมินผล และปรับปรุงการเรียนการสอน โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
การให้บริการได้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพประสิทธิภาพ เกณฑ์ หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง มีการบริหารจัดการที่ดี มีระบบโครงสร้างด้านเทคโนโลยีที่สามารถให้บริการอย่างทั่วถึง การบริการแนะนำ แก้ปัญหาการเรียน (Tutoring Services) ระบบช่วยเหลือ ติดตาม ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน มีระบบ ผู้ช่วยสอน โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
ความพึงพอใจของคณาจารย์ เกณฑ์ หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง คณาจารย์เข้าร่วมมากขึ้น การบริหารที่โปร่งใส การดูแลทรัพย์สินทางปัญญา การแบ่งปันความรู้ความเชี่ยวชาญอย่างสุจริต จริงใจ การได้รับการฝึกอบรม การเตรียมความพร้อม ผลประโยชน์และรางวัลที่คณาจารย์ควรได้รับ อาจารย์มาจากหลาย ๆ มหาวิทยาลัย ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน สื่อ/เอกสารเป็นลิขสิทธิ์ ร่วม อาจารย์ ประชุมร่วมกันวางแนวทางการสอน สัมมนาเพิ่มพูนประสบการณ์ การเขียนเอกสาร ตำรา / ภาระงาน โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
ความพึงพอใจของผู้เรียน เกณฑ์ หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง การกำหนดให้มีเวลาแน่นอนของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน มีระบบการวัดผลและประเมินผลที่ยุติธรรมและหลากหลายวิธีอย่างเหมาะสมกับอุปนิสัยการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการตรวจสอบด้วยการออกแบบสอบถามผู้เกี่ยวข้องเช่นผู้ว่าจ้าง ศิษย์เก่า และคณาจารย์ ที่ปรึกษานักศึกษา ผู้ช่วยสอน กำหนดเวลา พูด-คุย เวลาตอบคำถาม มีเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจน การประเมินผลหลากหลายวิธี มีการสอบถามผู้เรียนทั้งก่อนเรียนและหลังเรียน โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
Institutional Resource center Curriculum and Instruction 3 I / 1 C / 2 s Institutional policy องค์ประกอบ การประกันคุณภาพแบบอีเลิร์นนิง Infrastructure of ICT Institutional Resource center Curriculum and Instruction Support for faculty Support for student โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
เรียนเชิญ ทุกท่านร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และซักถาม เรียนเชิญ ทุกท่านร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และซักถาม ขอบคุณค่ะ โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย