เป็นเกษตรกรรมที่นำเอาหลักการ ความยั่งยืนถาวรของระบบป่า ธรรมชาติ มาเป็นแนวทางในการทำ การเกษตร ไม้ ผล ไม้ใช้สอย ต่างๆ สัตว์
คำว่า “ วนเกษตร ” จากการบุกเบิกของ ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม เฉลิม เมื่อปลาย ทศวรรษที่ 2520 อันเนื่องมาจาก ประสบการณ์ชีวิตที่ประสบกับปัญหาความ ล้มเหลวจากการทำเกษตรกรรมเชิงเดี่ยวใน เชิงพาณิชย์ครั้งแล้วครั้งเล่า ทำให้ท่าน ตัดสินใจขายที่ดินส่วนใหญ่ เพื่อนำไปชำระ หนี้สิน แล้วใช้พื้นที่เล็ก ๆ ที่เหลืออยู่เพียง ไม่กี่ไร่ แปรสภาพไร่มันสำปะหลังเป็นระบบ วนเกษตร ปลูกไม้ยืนต้น และพืชสมุนไพร ผสมผสานกัน และมีวิถีชีวิตที่พึ่งตนเองได้
การปลูกพืชเกษตรแซมใน พื้นที่ป่าธรรมชาติ การนำสัตว์ไปเลี้ยงในป่า การเกษตรใน พื้นที่ป่า มีไม้ยืนต้นหนาแน่นเป็นส่วน ใหญ่ ทำให้ระบบมีร่มไม้ปก คลุม และมีความชุ่มชื่นสูง เลียนแบบระบบ นิเวศในธรรมชาติ ไม่โค่นไม้ป่า นำผลผลิตมาจากป่ามาใช้ประโยชน์ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ทำการเกษตร โดยไม่ให้กระทบ พื้นที่ป่าเดิม
เกษตร ยั่งยืน เศรษฐกิจ พอเพียง ลดภาวะ โลกร้อน แหล่ง พลังงาน เพิ่ม รายได้
1. วน เกษตร แบบบ้าน สวน 2. วน เกษตรที่มี ต้นไม้ แทรกใน ทุ่งนา 3. วน เกษตรที่ มีต้นไม้ ล้อมรอบ ไร่นา
4. วนเกษตรที่มี แถบต้นไม้และ พืชผลสลับกัน 5. วนเกษตรใช้ พื้นที่หมุนเวียน ปลูกไม้ยืนต้น พืชผล และ เลี้ยงสัตว์
1. นางสาวณัฐริกาสินสมบูรณ์ทอง เลขที่ นางสาวถิรมนน้ำหล่ายเลขที่ นางสาวทิพวรรณบุญวงค์ เลขที่ นางสาววริศรากวาวสิบสาม เลขที่ 5. นางสาวศุภิสราอ่อนน้อมเลขที่ 6. นางสาวฐิติกานต์ธิน่าน เลขที่ 7. นางสาวจินตนาแซ่เติน เลขที่ 8. นางสาววรางคณาวิโรทุษ เลขที่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7
การประกอบอาชีพวนเกษตร ( ม. ป. ป.) เข้าถึง ได้จาก ulture/agrisystem.htm ( วันที่ค้นหาข้อมูล 23 พฤษภาคม 2557) ulture/agrisystem.htm มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน ( ประเทศ ไทย )(2554). วนเกษตร. เข้าถึงได้จาก pattern/item/68-agroforesty-farming.html ( วันที่ค้นหาข้อมูล 23 พฤษภาคม 2557) pattern/item/68-agroforesty-farming.html