Debugging กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
Ajax อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
ระบบเตือนการนัดหมาย ทางการแพทย์
Introduction to C Programming
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ
Thesis รุ่น 1.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ภาษาคอมพิวเตอร์.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
NU. Library Online Purchasing System
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ บทที่ 5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย MS Visual Basic 2010 ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การประเมินการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปี ๒๕๕๗
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
Introduction to C Language
การเขียนรายงานการวิจัย
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
System Development Lift Cycle
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
เทคโนโลยีสารสนเทศ ง นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ปิยพจน์ และคณะ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
Polymorphism กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น
กระบวนการทำงานและบุคลากร
Variables and Data Types กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Computer programming languages รายวิชา เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบและ เทคโนโลยีเกิดใหม่ สมาชิก 1 นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร รหัสนักศึกษา นายณัฐพงษ์
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
เ อกสารประกอบการสอนวิชา Computer Programming for Engineer ดร. นวภัค เอื้ออนันต์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
Microsoft Word Unit Software Packages in Business (Unit 2) อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Debugging กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 2 เนื้อหา  บทนำ  ประเภทของข้อผิดพลาด  วิธีการใช้งานเครื่องมือสำหรับ ตรวจสอบความผิดพลาด  สรุป

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 3 บทนำ การตรวจสอบความผิดพลาด (Debugging) เป็นงานที่ใช้สำหรับหา bugs ของโปรแกรม และแก้ไข ข้อผิดพลาดนั้นให้ถูกต้อง เหมือนกับการที่ หมอ สอบถามและ วิเคราะห์อาการของผู้ป่วย โดยข้อผิดพลาดมักเกิดขึ้นกับ โปรแกรมเมอร์มือใหม่ ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้น ได้ใน 3 ขั้นตอนดังต่อไปนี้

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 4 ขั้นตอนที่มักเกิด ข้อผิดพลาด  Compilation อยู่ในขั้นตอนการเขียน โปรแกรม เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจาก ไวยากรณ์ (Syntax) ของการเขียน โดย VB จะมีการตรวจสอบไวยากรณ์ ระหว่างการเขียนโปรแกรมและแจ้ง เตือนโดยอัตโนมัติ  Linking อยู่ในขั้นตอนของการเชื่อมโยง Library ต่างๆ ที่เราเรียกใช้งานใน โปรแกรม เพื่อให้สามารถนำโปรแกรม ที่เราพัฒนาขึ้นมา ไปติดตั้งยังเครื่อง คอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้  Running อยู่ในขั้นตอนการใช้งาน โปรแกรม แล้วผลลัพธ์ที่ได้มีความไม่ ถูกต้อง ตามที่โปรแกรมเมอร์ต้องการ

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 5 ประเภทของข้อผิดพลาด  Compilation Errors  Run-time Errors  Logical Errors

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 6 Compilation Errors  VB จะมีการตรวจสอบไวยากรณ์ก่อน การ Compile โปรแกรมอยู่แล้ว อย่างไรก็ ดี ปัญหาที่มักพบบ่อยๆ ในขั้นตอนนี้ คือ  การประกาศตัวแปร สะกดชื่อผิด  การเรียกใช้งาน Method และ Property สะกด ชื่อผิด  การกำหนดค่าพารามิเตอร์ หรือ อาร์กิวเมนต์ให้กับ Method ผิดพลาด  การเปลี่ยนชนิดของข้อมูล เช่น จาก ตัวอักษร ไปเป็นตัวเลข

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 7 Run-time Errors  เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นขณะที่ Run โปรแกรม โดยเมื่อเกิดข้อผิดพลาด ประเภทนี้ โปรแกรมจะหยุดทำงาน ทันที เช่น  การหาผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์ เช่น การหาร ด้วย ศูนย์  การใช้งานอาร์เรย์เกินขนาดที่ กำหนด  การเรียกใช้งานวัตถุที่ไม่ถูกประกาศ หรือยังไม่ได้ Imports NameSpace เข้ามา เพื่อใช้งาน

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 8 Logical Errors  ข้อผิดพลาดทางตรรกะ เป็น ข้อผิดพลาดที่แก้ไขได้ยากลำบาก เนื่องจากเป็นข้อผิดพลาดทีเกิด จากแนวคิดในการแก้ปัญหาของ ผู้พัฒนาโปรแกรมเอง เช่น  ตรรกะผิดพลาด If(Score >= 80) OR (Score = 80) OR (Score <= 100) Then Grade = “A”  ตรรกะถูกต้อง If(Score >= 80) AND (Score = 80) AND (Score <= 100) Then Grade = “A”

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 9 วิธีการใช้งานเครื่องมือสำหรับ ตรวจสอบความผิดพลาด  เครื่องมือที่ใช้สำหรับตรวจสอบ ความผิดพลาดของโปรแกรมจะอยู่ ในเมนู Debug ประกอบด้วยวิธีการที่ สำคัญ คือ  Breakpoints  Watch  Single stepping

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 10 Breakpoints  คลิกบริเวณ ต้นบรรทัดที่ต้องการ ตรวจสอบ

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 11 Watch  คลิกขวาที่ตัวแปรที่ต้องการตรวจสอบ ค่า เลือก Add Watch

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 12 Watch  ผลลัพธ์ของตัวแปรที่ปรากฏใน หน้าต่าง Watch

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 13 Single Stepping  เลือก Step Into หรือ Step Over เพื่อทำการดู ผลการ Run โปรแกรมทีละบรรทัด

สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 14 สรุป  การ Debugging เป็นการค้นหา ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในโปรแกรม และ แก้ไขให้ถูกต้อง  VB ได้มีการผสมผสานการแก้ไข ปัญหาเบื้องต้นไว้ในเครื่องมือที่ใช้ใน การพัฒนาแล้ว เพื่อช่วยอำนวยความ สะดวก  Breakpoint เป็นตำแหน่งที่เราต้องการให้ โปรแกรมหยุด เพื่อตรวจสอบความ ถูกต้องอะไรบางอย่าง  Watch สามารถช่วยให้เราตรวจสอบการ เปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปร และวัตถุได้ ในระหว่างการทำ Breakpoint