บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
โรคของระบบไหลเวียนโลหิต
เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
สื่อประกอบการเรียนรู้
Group Acraniata (Protochordata)
ความทุกข์ที่เกินทน จะหลอมคนให้ทนทาน
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ระบบประสาท (Nervous System)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
ABC DEFG สาขาสัตว์ศาสตร์
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การจัดระบบในร่างกาย.
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
หนอนพยาธิ (Helminth).
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
การจำแนกวงศ์ในอันดับโคลีออพเทอร่า
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ขาของแมลง (Insect Legs)
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
ด้วงกว่าง.
สารบัญ ระยะเวลาการวางไข่ 3 ตัวหนอน 4 ดักแด้ 5 ตัวเต็มวัย 6.
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)
ประเภทของมดน่ารู้.
Welcome to .. Predator’s Section
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
Class Monoplacophora.
Class Polyplacophora.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
บทปฏิบัติการที่ 3 ปากของแมลง (Insect Mouthparts)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)

ระบบการหายใจของแมลงส่วนใหญ่เป็นระบบท่ออากาศ ประกอบด้วยรูหายใจ (spiracle) อยู่ทางด้านข้างของลำตัว จากรูหายใจจะมีท่ออากาศ (trachea) ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ แมลงบางชนิดซึ่งไม่มีรูหายใจ อากาศเข้าสู่ลำตัวโดยซึมผ่านผนังลำตัว เช่น หนอนของแมลงเบียน ตัวอ่อนแมลงในน้ำ เช่น (แมลงชีปะขาว แมลงปอ)

การเรียงตัวของท่ออากาศประกอบด้วย ท่ออากาศด้านข้าง(lateral tracheal trunk) มี 1 คู่ทอดตามยาวลำตัวด้านข้างทั้ง 2 ข้าง ท่ออากาศด้านสันหลัง(dorsal tracheal trunk) มี 1 คู่ ทอดตามยาวลำตัวด้านสันหลังขนานกับท่อโลหิต ท่ออากาศด้านล่าง(ventral tracheal trunk) มี 1 คู่ ทอดตามยาวลำตัวด้านล่างขนานกับสายประสาท ท่ออากาศตามขวาง(tranverse connective) เชื่อมระหว่างท่ออากาศด้านข้าง ด้านสันหลัง และด้านล่าง

เส้นสีแดงแสดงทางเดินของทราเคี่ยว* spiracles tracheal trunk เส้นสีแดงแสดงทางเดินของทราเคี่ยว* spiracles จุดกลมๆตามเส้นขนานของทราเคี่ยว*

อวัยวะที่ช่วยในการหายใจในแมลง

สาขาของท่ออากาศมีแยกออกไปตามอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายประกอบด้วย ดอร์ซอล บรานช์(dorsal branch) แตกตามสาขาไปทางสันหลัง ส่งอากาศไปเลี้ยงหัวใจ กล้ามเนื้อ สันหลัง เวนทรอล บรานช์(ventral branch) แตกสาขาไปทางด้านล่างของลำตัวเลี้ยงกล้ามเนื้อด้านล่างและสายประสาท วิซเซอร์รอล บรานช์(visceral branch) แตดสาขาไปตรงกลาง เลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆ ของทางเดินอาหารและระบบสืบพันธุ์

อวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ แมลงบินเร็ว เช่น ผึ้ง แมลงวัน และแมลงบางชนิด เช่น ตั๊กแตน มีถุงอากาศช่วยเก็บอากาศไว้หายใจ ในตั๊กแตนถุงอากาศติดกับท่ออากาศด้านข้าง แมลงในน้ำ เช่น ตัวเต็มวัยมวนวน มวนกรรเชียง และด้วงดิ่ง เมื่อขึ้นมาที่ผิวน้ำจะดึงเอาฟองอากาศติดไว้ที่ปลายส่วนท้องใต้ปีก หรือตามปล้องหนวดเพื่อใช้ในการหายใจใต้น้ำ

ระบบหายใจของแมลงส่วนใหญ่มีรูหายใจ 10 คู่ อยู่ที่ส่วนอก 2 คู่ ที่ด้านข้างของอกปล้องกลางและปล้องสุดท้าย และอยู่ที่ส่วนท้อง 8 คู่ ที่ด้านข้างปล้องที่ 1- 8 ในแมลงบางชนิดรูหายใจบางคู่ไม่ทำงานหรือไม่เจริญตามปกติตัวอย่างเช่น หนอนแมลงช้าง หนอนด้วงบางชนิด และหนอนผีเสื้อ รูหายใจที่ส่วนท้องทำงานหมดทุกคู่ หนอนแมลงวันบางชนิด มีรูหายใจที่อกปล้องกลางและปล้องสุดท้ายเท่านั้นที่ทำงาน ดักแด้ยุง มีรูหายใจที่อกปล้องแรกเท่านั้นที่ทำงาน ลูกน้ำยุง มีรูหายใจที่อกปล้องสุดท้ายเท่านั้นที่ทำงาน

รูหายใจของแมลงชนิดต่างๆ