“การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ กรณีศึกษาจังหวัดพิจิตร”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
Advertisements

ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ กรณีศึกษาจังหวัดพิจิตร” โดย นางดวงพร พูลสวัสดิ์กิติกูล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สสจ.พิจิตร

ข้อมูลทั่วไป 12 อำเภอ 888 หมู่บ้าน 86 ตำบล 73 อบต. 3 ทม. 25 ทต. พื้นที่ประมาณ 4,531.013 ตารางกิโลเมตร 174,533 หลังคาเรือน ประชากร 546,731 คน 73 อบต. 25 ทต. 3 ทม. จ. พิษณุโลก จ.กำแพงเพชร จ.เพชรบูรณ์ จ. นครสวรรค์ ที่มา : ที่ทำการปกครอง จ.พิจิตร ข้อมูล ณ 31 ธค. 54 ศูนย์บริหารการทะเบียน ภาค 6 จ.พิจิตร ณ 30 มิย. 54

ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของจังหวัดพิจิตร ปัญหา ไข้เลือดออก ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พยายามฆ่าตัวตาย แม่และเด็กตาย สารเคมีในเลือด อุบัติเหตุจราจร พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น

เจ้าหน้าที่มีความสุข วิสัยทัศน์ สสจ.พิจิตร พิจิตรน่าอยู่ ประชาชนสุขภาพดี ทุกภาคีมีส่วนร่วม เจ้าหน้าที่มีความสุข

กรอบแนวคิดการพัฒนาแบบ Area Oriented Approach สสจ. สสอ. สนับสนุน 1.ประชาชน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ ตำบล/ ชุมชน ภาครัฐ ท้องถิ่น ประชาชน การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค 2.ตำบลจัดการสุขภาพมีคุณภาพ ติดตาม ประเมิน บูรณาการงาน การรักษาพยาบาล 3.กองทุนสุขภาพมีประสิทธิภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ 4.รพ.สต.ได้มาตรฐาน 5.หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์

DHS ??????? LOGO

กรอบแนวคิดการศึกษา

เพื่อศึกษาบทเรียนการดำเนินงานของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ วัตถุประสงค์ 1 เพื่อศึกษาบทเรียนการดำเนินงานของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ 2 เพื่อสร้างข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายบริการสุขภาพ LOGO www.themegallery.com

วีธีการ การศึกษาเชิงคุณภาพ พื้นที่ศึกษา 3 อำเภอ ( อ.สามง่าม อ.ตะพานหิน อ.บางมูลนาก ) กลุ่มตัวอย่าง จนท.สาธารณสุข จนท.ของ อปท. อสม.และแกนนำสุขภาพ เครื่องมือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก ระยะเวลา เมย. – กย. 2556 LOGO www.themegallery.com

อำเภอสามง่าม OPD Zero อำเภอจัดการสุขภาพ การปรับระบบบริการของโรงพยาบาล พัฒนา รพ.สต. ปรับระบบสนับสนุน OPD Zero อำเภอจัดการสุขภาพ (บริการสุขภาพแบบมีส่วนร่วมและกลไกนโยบายสาธารณะเพื่อสร้างสุขภาพ) ผลที่เกิดขึ้น 1.ด้านผู้รับบริการ ได้รับบริการความสะดวก ใกล้บ้าน ปริมาณผู้ป่วยที่มารับบริการที่ รพ.สต. เพิ่มมากขึ้น ( 95%) 2.ด้านผู้ให้บริการ เกิดทีม เรียนรู้ร่วมกัน ชีวิตมีคุณค่า 3. ด้านชุมชน มีกลุ่ม มีเครือข่าย ชมรม LOGO www.themegallery.com

เกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย อำเภอตะพานหิน พื้นที่ต้นแบบการพัฒนาโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย ขยายผล เกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย พัฒนาต่อเนื่อง Tapanhin Green Society ผลที่เกิดขึ้น ขยายกลุ่มปลูกพืชผักปลอดภัย เกษตรกรลดต้นทุนการผลิต มีรายได้เพิ่มขึ้น แหล่งศึกษาดูงานของนักเรียน เกษตรกรไม่มีสารพิษตกค้างในเลือด เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชุมชนได้บริโภคผักปลอดสาร สิ่งแวดล้อมในชุมชน สภาพแวดล้อมดี LOGO www.themegallery.com

อำเภอคุณธรรม สร้างสุข อำเภอบางมูลนาก พื้นที่ต้นแบบโรงเรียนคุณธรรม ขยายผลภาคีเครือข่ายสุขภาพ 7 เครือข่าย อำเภอคุณธรรม สร้างสุข สังคมคุณธรรม นำสุข (การสร้างคุณค่าร่วม เมตตา จิตอาสา และความรับผิดชอบ) ผลงานที่เกิดขึ้น มีรูปแบบ หรือต้นแบบด้านการพัฒนาคุณภาพ ผ่านโครงงานด้านการพัฒนา Project-based learning กลุ่มกิจกรรมจิตอาสาที่กว้างขวางและมีความหลากหลาย ประชาชนด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็งและเกิดรูปแบบการจัดการตนเอง LOGO www.themegallery.com

การเตรียมคน สร้างทีมงานและกลไกสำหรับการขับเคลื่อน รูปแบบการพัฒนา 3 อำเภอ การเตรียมคน สร้างทีมงานและกลไกสำหรับการขับเคลื่อน การกำหนดประเด็นตามความเข้มแข็งของกลุ่ม หลักการมีส่วนร่วมของหุ้นส่วนภาคีเครือข่าย ติดตามผลมุ่งเน้นที่สร้างการเรียนรู้ระหว่างกันและกัน พัฒนาศักยภาพของกลุ่มแกนนำด้วยการพาทำ เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง การจัดการสื่อสารกับสาธารณะ LOGO www.themegallery.com

บทเรียน จาก 3 พื้นที่ ผู้นำและกลไกขับเคลื่อน เน้นปัญหาของประชาชน บทเรียน จาก 3 พื้นที่ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ หลากหลาย เป้าหมายชัดเจน ผู้นำและกลไกขับเคลื่อน เน้นปัญหาของประชาชน ใช้องค์ความรู้ภายในองค์กร/ชุมชน การดำเนินงานที่เริ่มจากต้นทุนเดิมของพื้นที่ เน้นกระบวนการ ออกแบบกระบวนการ LOGO www.themegallery.com

บทเรียน จาก 3 พื้นที่ (ต่อ) บทเรียน จาก 3 พื้นที่ (ต่อ) มีทีมหนุน ทรัพยากร กระบวนการ องค์ความรู้ ลงมือทำ และต่อเนื่อง ต้องมีทีมติดตาม LOGO www.themegallery.com

บทเรียน จาก 3 พื้นที่ ผลลัพธ์ต่อประชาชน บทเรียน จาก 3 พื้นที่ ผลลัพธ์ต่อประชาชน การพัฒนาประเด็นหลัก เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย เป็นจุดสำคัญในการนำเข้าสู่ระบบสุขภาพ การรวมกลุ่มตามประเด็น สร้างความเข้มแข็ง มีระบบการจัดการทุน การเชื่อมประสานทั้งภายในและภายนอก การได้รับบริการที่มีมาตรฐานใกล้บ้าน LOGO www.themegallery.com

บทเรียน จาก 3 พื้นที่ ปัจจัยสำคัญ บทเรียน จาก 3 พื้นที่ ปัจจัยสำคัญ ออกแบบกลไกใหม่ อิทธิพลของกระบวนการจัดการเรียนรู้และถอดบทเรียน ดึงเอาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เกิดการสานต่อพลังความคิด ยกระดับเป้าหมายเฉพาะกลุ่มขึ้นมาเป็นเป้าหมาย หรือคุณค่าร่วมกัน ภาวะผู้นำ การนำองค์กร ในทุกระดับ LOGO www.themegallery.com

สรุปผล ข้อเสนอแนะ ( เบื้องต้น ) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และ อำเภอต้องสร้างกรอบนโยบายและ แนวทางการพัฒนา DHS ร่วมกัน หน่วยงานระดับพื้นที่ DHS ต้องสร้างภาวการณ์นำองค์กร และการกำหนดกลยุทธ์เชิงพื้นที่ หน่วยบริการ และภาคีสุขภาพต้องปรับกรอบความคิดและทำงานร่วมกัน พัฒนาศักยภาพของบุคลากร และ ภาคีสุขภาพ LOGO www.themegallery.com

สวัสดี

คำขวัญจังหวัดพิจิตร ถิ่นประสูติพระเจ้าเสือ แข่งเรือยาวประเพณี พระเครื่องดีหลวงพ่อเงิน เพลิดเพลินบึงสีไฟ ศูนย์รวมใจหลวงพ่อเพชร รสเด็ดส้มท่าข่อยข้าวเจ้าอร่อยลือเรื่อง ตำนานเมืองชาละวัน