การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
ต้นทุนค่ายา วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
ประสานงานสาธารณสุขระดับจังหวัดสงขลา
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
เอกสารประกอบการชี้แจง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต)
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
โดยตัวชี้วัด FAI ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังระดับเขต/จังหวัด
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
สรุปผลงานข้อมูลคุณภาพ
การลดต้นทุนวัสดุการแพทย์ ทางห้องปฏิบัติการจังหวัดเลย
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ตัวชี้วัดตามรับรองปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ ด้านบริหารการเงินการคลัง กลุ่มประกันสุขภาพ

ประเด็นการตรวจราชการ 1.ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ 2.หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ย กลุ่มระดับบริการ เกณฑ์เป้าหมาย: ไม่เกินร้อยละ 10 ของจำนวนโรงพยาบาลสังกัด สป. เกณฑ์เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของจำนวนโรงพยาบาลในเขตบริการสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย: โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในเขตบริการสุขภาพ ระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน กลุ่มเป้าหมาย: โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในเขตบริการสุขภาพ ระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน

จำนวนที่ติดวิกฤต 7 ระดับในปี 2558 ระดับกระทรวง ประสิทธิภาพของการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) เป้าหมาย เขต หน่วยบริการ (แห่ง) ทั้งหมด วิกฤตระดับ 7 2557Q3 ร้อยละ เป้าหมายลด ปี 2558 จำนวนที่ติดวิกฤต 7 ระดับในปี 2558   เขต 1 99 16 16% 7 9 9% 10 เขต 2 47 17 36% 8 20% 5 เขต 3 50 10% 2 3 5% เขต 4 70 13% 4 7% เขต 5 65 15% 8% เขต 6 69 14% เขต 7 72 12 17% เขต 8 86 4% เขต 9 89 3% 1 2% เขต 10 71 28 39% 13 15 21% เขต 11 75 21 28% 11 เขต 12 77 18 23% รวม 870 156 18% 85

ระดับเขต หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 20 - หน่วยบริการในพื้นที่ หมายถึง โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในเขตบริการสุขภาพ ระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน ในเขตบริการ (870 แห่ง) -ต้นทุนต่อหน่วย หมายถึง ต้นทุนผู้ป่วยนอก (OPD) และผู้ป่วยใน (IPD) รวมทุกสิทธิ ต่อหน่วยน้ำหนัก -เกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ หมายถึง ค่าที่ใช้เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนของตนเองกับ รพ ในระดับบริการเดียวกัน (ค่าที่เหมาะสมจะต้องไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ย (mean +1SD)

ผลการดำเนินงานปี 2557 ไตรมาสที่ 3/2557 ผลการดำเนินงานปี 2557 ไตรมาสที่ 3/2557 เขต ส่งข้อมูล ต้นทุนเกินเกณฑ์ ร้อยละ ๑ ๙๘ ๑๖ ๑๖.๓๓ ๒ ๔๖ ๓๔.๗๘ ๓ ๑๑ ๒๓.๙๑ ๔ ๗๐ ๓๓ ๔๗.๑๔ ๕ ๖๔ ๒๐ ๓๑.๒๕ ๖ ๖๖ ๒๕ ๓๗.๘๘ ๗ ๖๒ ๒๕.๘๑ ๘ ๘๐ ๑๔ ๑๗.๕๐ ๙ ๘๒ ๑๙ ๒๓.๑๗ ๑๐ ๖๑ ๔๐.๙๘ ๗๕ ๒๔ ๓๒.๐๐ ๑๒ ๗๖ ๓๕ ๔๖.๐๕ รวม ๘๒๖ ๒๕๔ ๓๐.๗๕

แนวทางการดำเนินงานเพื่อปรับประสิทธิภาพ 3 ระดับ เพื่อขับเคลื่อนตัวชี้วัด ตาม นส. ที่ สธ 0209.02/ว 540 ลว.21 ตุลาคม 2557 ระดับหน่วยบริการ 1. จัดทำแผนประมาณการรายได้ฯ Planfin58 2. ส่งงบทดลอง http://hfo.cfo.in.th 3. เสนอรายงานทางการเงิน และตัวชี้วัดต่อผู้บริหาร (ผอ.รพ.)เป็นประจำทุกเดือน 4. แต่งตั้ง คกก. แก้ปัญหาการเงินของ รพ.เสนอต่อ คกก .จังหวัด 5. พัฒนาระบบบัญชีให้มีคุณภาพน่าเชื่อถือ ระดับจังหวัด 1. ตั้ง คกก.ปรับประสิทธิภาพระดับ จว 2. กำหนดมาตรการควบคุมค่าใช้จ่าย/เพิ่มรายได้ให้ งปม.สมดุล 3. ตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน/ ตรวจบัญชี/ ระบบการบริหาร รพ.ทุกแห่ง 4. ประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง FAI ด้วยความโปร่งใส ระดับเขต 1. ตั้ง คกก.ปรับประสิทธิภาพระดับเขตบริการ กำหนดนโยบายเขตบริการและ สนับสนุน มาตรการ ควบคุม คชจ./เพิ่มรายได้ ของ คกก.จังหวัด ตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน/ตรวจบัญชี/ระบบการบริหาร รพ.ที่ประสบปัญหาเรื้อรัง 4. สร้าง รพ.ต้นแบบของการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังระดับเขต

ประเด็นที่ 1 ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ มาตรการการดำเนินงาน หน่วยบริการจะต้องมีแผนการดำเนินงานเพื่อปรับประสิทธิภาพการบริหารการเงิน พัฒนาข้อมูลบัญชีให้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือ การตรวจติดตาม ๕ เรื่อง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการแก้ปัญหาการเงินของ รพ. หน่วยบริการมีแผนควบคุมค่าใช้จ่าย/เพิ่มรายได้ Planfin โดยผ่านการพิจารณาจากจังหวัด และเขตอนุมัติเรียบร้อยแล้ว ๓. หน่วยบริการมีการพัฒนาบัญชีผ่านเกณฑ์คุณภาพตรวจบัญชีโดยระบบอิเลคทรอนิคส์ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ๔. มีการรายงานการเงินและตัวชี้วัดให้ผู้บริหารได้รับทราบประจำทุกเดือนเพื่อใช้เพื่อในการบริหารองค์กร ๕. มีการประเมินคุณภาพการบริหารการเงินการคลังโดยใช้เกณฑ์ประเมิน FAI (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80)

ประเด็นที่ 2 หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ มาตรการดำเนินงาน ส่งข้อมูลบริการ Service Data ครบถ้วน ทันเวลา ทุกเดือน (ภายในวันที่ 30 ของเดือนถัดไป) การจัดการระบบบริการเพื่อให้มีต้นทุนบริการลดลง เช่นการใช้ทรัพยากรร่วมกันเพื่อ ลดการลงทุน, การส่งต่อเฉพาะภายในเครือข่าย สป. ฯลฯ การควบคุมค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในหมวดต่างๆ ได้แก่ ค่าแรง (Labor cost: LC) ค่าวัสดุ (Material cost: MC) งบลงทุน (Capital cost: CC) ค่าใช้จ่ายดำเนินการ (Operating cost : OC การตรวจติดตาม ๕ เรื่อง ๑. หน่วยบริการมีผู้รับผิดชอบการตรวจสอบข้อมูลบริการ Service Data สำหรับทำ Unit cost แบบ Quick Method ๒. มีการรายงานต้นทุนUnitCost แบบ Quick method ให้ผู้บริหารได้รับทราบประจำทุกเดือน ๓. ต้นทุน OPD ของ รพ. ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส ๔. ต้นทุน IPD ของ รพ. ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส ๕. ได้นำข้อมูลต้นทุนไปใช้ในการพัฒนาระบบบริการ

แบบ Checklist แบบรายงานการตรวจราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2558 (Check List) ภารกิจหลัก การติดตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข หัวข้อ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ จังหวัด เขตบริการสุขภาพที่ ตรวจราชการวันที่ 1. ประเด็นการตรวจราชการ การบริหารการเงินการคลัง ลำดับ   ประเด็นที่ 1 ประเด็นที่ 2 หน่วยบริการ ประสิทธิภาพของการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) รวม หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ (ไม่เกินร้อยละ 20) 1.มีการแต่งตั้ง คกก.แก้ปัญหาการเงิน รพ. 2.หน่วยบริการมีแผนควบคุม Planfin ครบถ้วนสมบูรณ์ 3.คุณภาพบัญชี รพ.ผ่านเกณฑ์คะแนน 100% 4. มีรายงานการเงินและตัวชี้วัดเสนอผู้บริหารทุกเดือน 5.คะแนน FAI ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 1.มีผู้รับผิดชอบตรวจสอบ Service Data ในการทำ UnitCost แบบ Quick Method 2. มีการรายงานต้นทุน Quick Method ให้ผู้บริหารทุกเดือน 3. ต้นทุน OPD ของ รพ.ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย รพ.กลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส 4.ต้นทุน IPD ของ รพ. ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส 5. ได้นำข้อมูลไปใช้เพื่อการพัฒนาระบบบริการ

Thank you