วิทยาลัยเทคโนโลยีเจริญมิตรพณิชยการ ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช นางสาวนัตตาภรณ์ โชติรุ่งโรจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเจริญมิตรพณิชยการ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช
กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตาม แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู (McCelland’s Acquired- Need Theory, 1981) - ความต้องการความสำเร็จ - ความต้องการความผูกพัน - ความต้องการอำนาจ ตัวแปรอิสระ พฤติกรรมผู้นำของ ผู้บริหารสถานศึกษา (House & Mitchell, 1974) - ผู้นำแบบชี้นำ - ผู้นำแบบสนับสนุน - ผู้นำแบบให้ความร่วมมือ - ผู้นำแบบเน้นความสำเร็จ
สมมติฐานของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวกกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช ขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ครูผู้สอนโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช ปีการศึกษา 2554 รวมทั้งสิ้น 338 คน (16 โรงเรียน) 2. กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอนโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 181 คน
ประโยชน์ของการวิจัย 1. เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษานำไปใช้ในการปรับปรุงพฤติกรรมผู้นำในการบริหารงาน 2. เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษานำไปประยุกต์ใช้ในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน 3. เพื่อเป็นแนวทางให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนนำไปพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน
4. ผู้นำแบบเน้นความสำเร็จ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยภาพรวม และรายด้าน (n = 181) พฤติกรรมผู้นำ S.D. ระดับพฤติกรรม 1. ผู้นำแบบชี้นำ 3.66 0.67 มาก 2. ผู้นำแบบสนับสนุน 3.35 1.36 ปานกลาง 3. ผู้นำแบบให้ความร่วมมือ 3.41 0.80 4. ผู้นำแบบเน้นความสำเร็จ 3.70 1.31 เฉลี่ยรวม
แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยภาพรวม และรายด้าน (n = 181) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู S.D. ระดับแรงจูงใจ 1. ความต้องการความสำเร็จ 3.45 0.78 ปานกลาง 2. ความต้องการความผูกพัน 3.53 0.65 มาก 3. ความต้องการอำนาจ 0.66 เฉลี่ยรวม 3.61
ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช (n = 181) มาตรวัด DL SL PL AOL LT NAc NAf NP NT - .416** .525** .441** .320** .233** .369** .769** .450** .591** .463** .592** .378** .629** .355** .672** .493** .359** .625** .271** .598** .700** .357** .622** .274** .593** .698** .987** .565** .362** .637** .397** .641** .846** .805** .829** 3.66 3.35 3.41 3.70 3.68 3.45 3.53 3.61 S.D. 0.67 1.36 0.80 1.31 0.64 0.78 0.65 0.66 ** P ≤ .01
สรุปผลการวิจัย 1. ระดับพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก พิจารณารายด้าน พบว่า พฤติกรรมผู้นำแบบชี้นำ และพฤติกรรมผู้นำแบบเน้นความสำเร็จอยู่ในระดับมาก ส่วนพฤติกรรมผู้นำแบบให้ความร่วมมือ และ พฤติกรรมผู้นำแบบสนับสนุน อยู่ในระดับปานกลาง 2. ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก พิจารณารายด้านพบว่าความต้องการความผูกพันและความต้องการอำนาจอยู่ในระดับมาก ส่วนความต้องการความสำเร็จ อยู่ในระดับ ปานกลาง
3. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับค่อนข้างสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ขอบคุณค่ะ