ระดับของการศึกษาตัวแปร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของโครงงาน.
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิจัย RESEARCH.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
การศึกษารายกรณี.
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
ระบบข้อสอบออนไลน์.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการ กพฐ.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
การจัดกระทำข้อมูล.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
การเขียนรายงานการวิจัย
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
Geographic Information System
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
3 แบบทดสอบก่อนเรียน 1. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 2. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานประเภททดลอง.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
งานวิจัย เรื่อง การฝึกทักษะ 5 ประการที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ประยุกต์ 1 เรื่องระบบจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม ของนักเรียนชั้น ปวช.
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
Synthetic Analytic (การมองภาพรวม / ใหญ่ โดยเกิดจากการที่เรา (การมองภาพย่อย เกิดจากการที่เราเริ่มรู้สาเหตุ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระดับของการศึกษาตัวแปร ระดับของการศึกษาตัวแปร หมายถึง คุณวุฒิทางการศึกษาที่ได้รับ สำหรับผู้ที่กำลังศึกษา หมายถึงระดับชั้นที่กำลังเรียน หรือที่ผ่านมา เป็นต้น รายได้ หมายถึง รายได้ของครอบครัวโดยรวม หรือรายได้เฉพาะหัวหน้าครอบครัว หรือรายได้ต่อสมาชิกในครอบครัว เป็นรายชั่วโมงรายวัน รายเดือน เป็นต้น

พิจารณาจากระดับของการศึกษาตัวแปร แบ่งออกได้เป็น การวิจัยเพื่อการสำรวจ (Exploratory Study) เป็นการวิจัยเพื่อสำรวจตัวแปร และปรากฏการณ์ของตัวแปร เพื่อนำผลมาอธิบายการเกิดขึ้นของปรากฏการณ์นั้น ๆ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การวิจัยเพื่อตรวจสอบตัวแปร (Identified Variable)  การวิจัยเพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปร (Discovery of Relationship Between Variables)

การวิจัยเพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน การวิจัยเพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน (Hypothesis Testing Study) เป็นการศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎี เพื่อที่จะนำไปใช้ในการทำนาย การวิจัยชนิดนี้มีทางตั้งสมมุติฐาน และตรวจสอบดูว่าสมมุติฐานที่ตั้งขึ้นว่าถูกต้องหรือไม่

ตัวอย่าง ระดับการศึกษาตัวแปร การศึกษาตัวแปรเพื่อกำหนดเขตพื้นที่การศึกษา ระยะที่ 2 มีจุดมุ่งหมายเพื่อทดสอบความเป็นไปได้ของตัวแปร 6 ตัว คือ จำนวนประชากร อัตราความหนาแน่นของประชากร จำนวนสถานศึกษา ลักษณะภูมิศาสตร์ การคมนาคม และการสื่อสาร เขตอำเภอ และลักษณะเฉพาะทางสังคมวัฒนธรรมที่ใช้ในการกำหนดเขตพื้นที่การศึกษากลุ่มตัวอย่างคือ จังหวัดที่ ลักษณะต่างกัน 4 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดนครราชสีมา แม่ฮ่องสอน ยะลา และพระนครศรีอยุธยา เลือกมาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง   คือ   คู่มือการดำเนินการทดสอบตัวแปร ที่ประกอบด้วย ความเป็นมาของการวิจัยแนวทางในการดำเนินงานในพื้นที่ และตัวอย่างการกำหนดเขตพื้นที่การศึกษา และประเมินการดำเนินงานด้วยการสังเกตทดลองของจังหวัดโดยคณะวิจัย

ผลการทดลอง พบว่า ตัวแปรที่ควรนำมาใช้ในการกำหนดพื้นที่การศึกษา มี 4 ตัวแปร คือ จำนวนประชากร เขตอำเภอ จำนวนสถานศึกษาและลักษณะภูมิประเทศ การคมนาคม และการสื่อสาร โดยที่แต่ละเขตพื้นที่การศึกษาควรมีจำนวนประชากร ระหว่าง 120,000-200,000 คน การใช้ตัวแปรเขตอำเภอ คืออำเภอเดิมจะไม่แยกอำเภอแต่รวมอำเภอได้ และควรรวมอำเภอที่มีเขตติดต่อกัน เพื่อความสะดวกในการประสานงานจำนวนสถานศึกษาเฉลี่ย 100 แห่ง และการใช้ตัวแปรลักษณะภูมิศาสตร์ การคมนาคมและการสื่อสารความพิจารณาถึงความสะดวกในการติดต่อสื่อสารภายในเขตพื้นที่การศึกษา โดยสามารถเดินทางไป - กลับ ได้ภายใน 1 วัน โดยมีข้อเสนอแนะการกำหนดเขตพื้นที่การศึกษาเป็น 2 ลักษณะคือ ลักษณะของพื้นที่ทั่วไปควรใช้จำนวนประชากร 200,000 คนขึ้นไปเป็นตัวแปรหลัก ส่วนตัวแปร เขตอำเภอ และจำนวนสถานศึกษาเป็นตัวแปรรองและลักษณะของพื้นที่พิเศษที่มีความยากลำบากในการคมนาคมของพื้นที่พิเศษที่มีความยากลำบากในการคมนาคม ควรใช้ตัวแปรลักษณะภูมิศาสตร์ การคมนาคมและการสื่อสาร เป็นตัวแปรหลักพิจารณาประกอบตัวแปรเขตอำเภอ เพราะอำเภอติดต่อกันจึงจะช่วยให้การติดต่อ สื่อสาร สะดวกขึ้น ส่วนตัวแปรจำนวนประชากรและจำนวนสถานศึกษานำมาพิจารณาเพื่อจัดให้แต่ละเขตพื้นที่การศึกษา มีขนาดใกล้เคียงกัน

นาย ปีรติ วัฒนวิกย์การ รหัสนักศึกษา 54620804 น.ส.ชื่นนภา เมฆประยูร รหัสนักศึกษา 54620801