กรมโรงงานอุตสาหกรรม 24 พฤษภาคม 2549 ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม จากสารมลพิษตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสต๊อกโฮล์ม กรมโรงงานอุตสาหกรรม 24 พฤษภาคม 2549
กรมโรงงานอุตสาหกรรม รับผิดชอบอย่างไร กรมโรงงานอุตสาหกรรม รับผิดชอบอย่างไร สารมลพิษตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสต๊อกโฮล์ม หน้าที่ตามกฎหมาย
สารมลพิษตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสต๊อกโฮล์ม สารมลพิษตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสต๊อกโฮล์ม POPs 12 ชนิด คือ อัลดริน (Aldrin) คลอเดน (Chlordane) ดีดีที (DDT) ดิลดริน (Dieldrin) เอนดริน (Endrin) เฮปตะคลอร์ (Heptachlor) ไมเร็กซ์ (Mirex) ท็อกซาฟีน (Toxaphene) เอชซีบี (Hexachlorobenzene HCB) พีซีบี (Polychlorinated Biphenyls PCBs) ไดออกซิน (Polychlorinated dibenzo-p-dioxins PCDDs) ฟิวแรน (Polychlorinated dibenzo furans PCDFs)
สารมลพิษตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสต๊อกโฮล์ม สารมลพิษตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสต๊อกโฮล์ม Polychlorinated biphenyls (PCBs) CAS 1336-36-6 ของเหลวคล้ายน้ำมัน ผลิตเพื่อการค้าตั้งแต่ปี 1930 ผู้ผลิต อเมริกา ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น รัสซีย ใช้เป็น heat transfer fluids, hydraulic fluids, dielectric fluids, flame retardants
ไดออกซิน ( Dioxins ) เป็นชื่อรวมที่ใช้เรียกสารประกอบ polychlorinated dibenzo - para - dioxins ( PCDD ) และ polychlorinated dibenzofurans ( PCDF ) จากสูตรโครงสร้างทางเคมีของ PCDD และ PCDF จะเห็นว่าอะตอมของคลอรีนสามารถมีได้ตั้งแต่ 1 - 8 อะตอม และสามารถจับโมเลกุลที่ตำแหน่งต่าง ๆ ตั้งแต่ 1 - 4 และ 6 - 9 ทำให้เกิดไอโซเมอร์ ( isomer ) หรือในที่นี้เรียกคอนจีเนอร์ ( congener ) ได้มากมาย โดย PCDD เกิด isomer ได้ 75 ชนิด และ PCDF เกิด isomer ได้ 135 ชนิด
_ สารมลพิษทางอากาศ ที่เกิดจากการ Dioxins _ สารมลพิษทางอากาศ ที่เกิดจากการ เผาไหม้สารอินทรีย์ที่มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ 2, 3, 7, 8 - Tetrachlorodibenzo - para - dioxin ( 2, 3, 7, 8 - TCDD หรือ TCDD ) เป็นชนิดที่มีความเป็นพิษร้ายแรงที่สุด ไดออกซิน เป็นสารที่ละลายได้ดีในไขมัน มีความคงตัวทางเคมีสูง สลายตัวได้ยาก ค่าครึ่งชีวิต ( half life ) เฉลี่ยประมาณ 7 ปี สามารถสะสมปนเปื้อนอยู่ในห่วงโซ่อาหาร ( food chain )
พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 หน้าที่ตามกฎหมาย พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 - ควบคุมกำกับดูแลต้นกำเนิด - ป้องกัน ควบคุม และบรรเทา
หน้าที่ตามกฎหมาย พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 - ผู้ประกอบกิจการโรงงาน - ผลิต เก็บ ใช้ ขนถ่าย กำจัด - จุดกำเนิดของการปนเปื้อนสารเคมี (มลสาร) ในน้ำ ดิน อากาศ - ควบคุมและป้องกันปัญหา ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม สุขอนามัย (Workplace) - การประเมินความเสี่ยง - มาตรฐานน้ำทิ้ง คุณภาพอากาศ ของเสีย
การประเมินความเสี่ยง โรงงาน 12 ประเภทที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด อุบัติภัยร้ายแรง (ระเบิด เพลิงไหม้ สารพิษรั่ว) - สกัดน้ำมันพืช - เคมีภัณฑ์ - ปุ๋ย สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ - ยางเรซินสังเคราะห์ - สี เชลแลค แล็กเกอร์
- ไม้ขีดไฟ. - โรงกลั่นน้ำมัน. - ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม. - ก๊าซ - ไม้ขีดไฟ - โรงกลั่นน้ำมัน - ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม - ก๊าซ - บรรจุก๊าซ - ห้องเย็น - วัตถุระเบิด
การประเมินความเสี่ยง - ชี้บ่งอันตราย (Hazard Identification) เพื่อวิเคราะห์หาอันตรายที่แอบแฝงอยู่ อันตราย หมายถึง อุบัติเหตุ อุบัติภัยร้ายแรง ความเสียหาย การบาดเจ็บ ฯลฯ - ประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) เพื่อพิจารณาถึงโอกาสของการเกิดและ ความรุนแรงของอันตราย จัดระดับความเสี่ยง - แผนบริหารความเสี่ยง (Risk Management Program)
มาตรฐานน้ำทิ้ง (Effluent Standard) ยังไม่มีการกำหนด - คุณภาพอากาศ (Emission Standard) ประกาศกระทรวง ฯ ปี 2548 กำหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากศที่ระบายออกนอกโรงงาน (เตาเผาขยะอุตสาหกรรม) Dioxin/Furan TEQ = 0.5 Nanogram/Cubic meter TEQ = Toxic Equivalent Quantity
ของเสียอันตราย (Hazardous Wastes) ตามประกาศกระทรวง ฯ ปี 2548 เรื่องการกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไม่ใช้แล้ว มีผลบังคับ 25 เม.ย. 2548 - ลักษณะของเสียอันตราย ไวไฟ กัดกร่อน เกิดปฏกิริยาได้ง่าย เป็นพิษ, สิ่งเจือปนที่กำหนด TTLC = Total Threshold Limited Concentration STLC = Soluble Threshold Limited Concentration
การจัดการอย่างเป็นระบบ ผู้ก่อ-ผู้รวบรวมและขนส่ง-ผู้บำบัด รับภาระความรับผิด (Liability) แผนป้องกันอุบัติภัยและแผนฉุกเฉิน วิธีการกำจัด - ของเสียที่มีองค์ประกอบ POPs จัดเป็นสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตราย
ของเสียที่มีองค์ประกอบ TTLC STLC อัลดริน (Aldrin) 1.4 มก/กก. , 0.14 มก/ล. คลอเดน (Chlordane) 2.5 มก/กก. , 0.25 มก/ล. ดีดีที (DDT) 1.0 มก/กก. , 0.10 มก/ล. ดิลดริน (Dieldrin) 8.0 มก/กก. , 0.80 มก/ล. เอนดริน (Endrin) 0.2 มก/กก. , 0.02 มก/ล. เฮปตะคลอร์ (Heptachlor) 2.5 มก/กก. , 0.25 มก/ล. ไมเร็กซ์ (Mirex) 21 มก/กก. , 2.1 มก/ล. ท็อกซาฟีน (Toxaphene) 5 มก/กก. , 0.5 มก/ล. เอชซีบี (Hexachlorobenzene HCB) พีซีบี (Polychlorinated Biphenyls PCBs) 50 มก/กก. , 5.0 มก/ล. ไดออกซิน (Polychlorinated dibenzo-p-dioxins PCDDs) 0.01 มก/กก. , 0.001 มก/ล.
หน้าที่ตามกฎหมาย พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 - การผลิต นำเข้า ส่งออก และครอบครอง - ควบคุม สารเคมี(สารเดี่ยว) สารผสมหรือผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ใช้แล้ว ของเสีย (ตามอนุสัญญาต่าง ๆ) - ป้องกันอันตรายจากการ ผลิต เก็บ ขนส่ง เพื่อความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม สุขอนามัย
แบ่งชนิดวัตถุอันตรายระดับควบคุมวัตถุอันตราย ชนิดที่ 1 ดำเนินการได้เลย - แจ้งนำเข้า/ส่งออก (วอ./อก.6) ชนิดที่ 2 แจ้งดำเนินการ (ม. 22) - ขึ้นทะเบียน, แจ้งดำเนินการ , แจ้งนำเข้า/ส่งออก (วอ./อก.6)
ระดับควบคุมวัตถุอันตราย ชนิดที่ 3 อนุญาต (ม ระดับควบคุมวัตถุอันตราย ชนิดที่ 3 อนุญาต (ม.23-26) - ขึ้นทะเบียน, ขอรับในอนุญาต, แจ้งนำเข้า/ส่งออก ชนิดที่ 4 ห้าม (ม.43) (ปรับ1ล้านบาทหรือจำคุก10 ปี หรือโดยประมาทปรับ8 แสนบาท)
ควบคุมวัตถุอันตราย - ขึ้นทะเบียน - ขอรับในอนุญาต (ผลิต,นำเข้า,ส่งออกหรือครอบครอง - แจ้งนำเข้า/ส่งออก (วอ./อก.6) - PEN (Pre-export Notification) - แจ้งช้อมูล (วอ./อก.7)
สารมลพิษตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสต๊อกโฮล์ม สารมลพิษตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสต๊อกโฮล์ม Polychlorinated biphenyl PCB ไม่มีการผลิต ไม่มีการนำเข้ามาในรูปของ สารเคมี (สารเดี่ยว/ของผสม) นำเข้ามาอยู่ในผลิตภัณฑ์ของtransformers , capacitors โดย กฟผ กฟภ กฟน
สารมลพิษตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสต๊อกโฮล์ม สารมลพิษตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสต๊อกโฮล์ม Polychlorinated biphenyls (PCBs) วัตถุอันตราย ชนิดที่ 3 วัตถุอันตราย ชนิดที่ 4 ปี 1992- 2002 ส่งออกของเสีย 761ตัน ฝรั่งเศส อังกฤษ และเบลเยี่ยม
Polychlorinated biphenyl PCB ปัจจุบัน แผนการจัดการที่ยังครอบครองอยู่ (NIP/POPs )
Dioxin & Furan วัตถุอันตรายชนิดที่ 3
การประเมินความเสี่ยง - Hazard Identification - Consequence Analysis - Control of treatment response (management) - Procedures (Operation/Maintenance/Testing/Inspection/ Change control) - Training - Emergency planning - Accident Investigation - Audits
กรมโรงงานอุตสาหกรรม โทร 02 202 3967 www.diw.go.th www.diwsafety.org สายด่วน 1564