ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

น.ส.เสริมสุข ธรรมกิจไพโรจน์ ผอ.กลุ่มสารสนเทศ สนผ. สพฐ.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี )
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การจัดทำรายงาน โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีน LAJE ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ไข้เลือดออก.
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางการรณรงค์ให้วัคซีน dT ในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
กำหนดการ – ทำไมต้องรณรงค์ให้วัคซีน dT , MR – เข้าใจโรค รู้จักวัคซีน dT , MR และ AEFI – แนวทางการรณรงค์การให้วัคซีน.
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
X ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58)
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน.
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558

เป้าหมายการลดโรคปี 2558 ไม่พบผู้ป่วยโปลิโอ อัตราป่วยด้วยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดไม่เกิน 1 ต่อ 1,000 เด็กเกิดมีชีพ รายจังหวัด อัตราป่วยด้วยโรคหัด ไม่เกิน 3.5 ต่อประชากรแสนคน (2,250 ราย) อัตราป่วยด้วยโรคคอตีบไม่เกิน 0.015 ต่อประชากรแสนคน (10 ราย) อัตราป่วยด้วยโรคไอกรนไม่เกิน 0.08 ต่อประชากรแสนคน (50 ราย) อัตราป่วยด้วยโรคไข้สมองอักเสบเจอีไม่เกิน 0.15 ต่อประชากรแสนคน (90 ราย) อัตราการเป็นพาหะของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ไม่เกินร้อยละ 0.25

ตัวชี้วัดจุดเน้นการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ด้านโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) = ตัวชี้วัดกระทรวงฯ ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปีได้รับวัคซีน MMR ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ทุกพื้นที่ ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ได้รับวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอี ครบตามเกณฑ์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่ ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP ครบ 5 ครั้ง ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่

ตัวชี้วัด ให้บริการวัคซีน โดยให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ ทุกคนได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบชุด เกินกว่าร้อยละ 90 เด็กอายุครบ 1 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อปี พ.ศ. ที่ผ่านมา) coverage BCG > 90% รายหมู่บ้าน/ตำบล/เทศบาล coverage HB3 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage DTP3 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage OPV3 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage MMR1 > 95% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage BCG-MMR1 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล

เด็กอายุครบ 2 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อ 2 ปี พ. ศ เด็กอายุครบ 2 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อ 2 ปี พ.ศ. ที่ผ่านมา) coverage DTP4 > 90% รายหมู่บ้าน/ตำบล/เทศบาล coverage OPV4 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage JE2 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage BCG-JE2 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล เด็กอายุครบ 3 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อ 3 ปี พ.ศ. ที่ผ่านมา) coverage JE3 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage BCG-JE3 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล

เด็กอายุครบ 5 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อ 5 ปี พ. ศ เด็กอายุครบ 5 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อ 5 ปี พ.ศ. ที่ผ่านมา) coverage DTP5 > 90% รายหมู่บ้าน/ตำบล/เทศบาล coverage OPV5 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage BCG-DTP5/OPV5 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล หญิงมีครรภ์ (ประเมินแม่ที่มีลูกที่เกิดในเดือนนี้) coverage dT ครบชุดในแม่ที่มีลูกอายุ < 1 เดือน > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล

เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน MMR2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 เป็นรายโรงเรียน เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน dT ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 เป็นรายโรงเรียน

มาตรการสำคัญ มาตรการที่ 1 : เร่งรัดและคงรักษาระดับความครอบคลุม การได้รับวัคซีนทุกชนิด มาตรการที่ 2 : ยกระดับคุณภาพการให้บริการวัคซีนและ การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มาตรการที่ 3 : ให้วัคซีนที่จำเป็นและวัคซีนใหม่แก่ประชากร กลุ่มเสี่ยง

เร่งรัดและคงรักษาระดับความครอบคลุม การได้รับวัคซีนทุกชนิด สำรวจประชากรเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอแก่ประชากรกลุ่มเสี่ยง ส่งเสริมการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ในนักเรียน โดยสนับสนุนบัตรรับรองการได้รับ วัคซีนในนักเรียนชั้น ป.6 เพื่อใช้เป็นหลักฐาน ในการเข้าเรียนชั้น ม.1

การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 ค่าเป้าหมาย : ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน OPV เสริม ในประชากรเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 รายตำบล/ชุมชน กลุ่มเป้าหมาย : 1. พื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. พิจารณาเพิ่มเติมจากพื้นที่เสี่ยงที่ยังไม่ได้ให้วัคซีนเสริม ในปี 2557

การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กำหนดพื้นที่เสี่ยงอิงตามหลักเกณฑ์ดังนี้ ก. พื้นที่ที่มีประชากรเคลื่อนย้ายสูง ซึ่งมีความยากลำบาก ในการให้บริการวัคซีนตามระบบปกติ ข. พื้นที่ติดชายแดนพม่า หรือมีชุมชนชาวพม่าขนาดใหญ่ ซึ่งการให้วัคซีนปกติไม่สามารถดำเนินการได้ ค. พื้นที่มีเหตุให้สงสัยว่าความครอบคลุมวัคซีนโปลิโอต่ำกว่าเกณฑ์ เช่น มี case AFP อายุ 12 - 60 เดือน ที่ไม่ได้รับวัคซีนป้องกัน โรคโปลิโอ 3 ครั้ง (OPV3) หรือพื้นที่มีรายงานโรคคอตีบหรือหัด ระบาดในเด็กและไม่อาจแก้ไขได้ด้วยการบริการวัคซีนตามระบบ ปกติ ง. กำหนดให้พื้นที่ดำเนินการเป็นหมู่บ้านหรือชุมชน

การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กำหนดอายุของกลุ่มเสี่ยงตามข้อมูล จากการดำเนินงานบริการวัคซีน และระบาดวิทยาของแต่ละพื้นที่ 3. กำหนดการ - แจ้งพื้นที่เพื่อดำเนินการเดือน ธ.ค. 2557 - ระยะเวลาดำเนินการให้อยู่ในช่วงเดือน ม.ค. - เม.ย. 2558 แต่ละพื้นที่กำหนดช่วงเวลา 2 รอบ ห่างกัน 4 - 6 สัปดาห์ 4. การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในแต่ละพื้นที่ ให้ดำเนินการปีเว้นปี ยกเว้น ในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ที่ให้ดำเนินการปีละ 1 ครั้งต่อไป 5. หากสามารถดำเนินการได้ ควรให้วัคซีนโปลิโอเสริมร่วมไปกับวัคซีนอื่น ในคราวเดียวกันด้วย

การตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ในโรงเรียน

ที่ สธ ๐๔๒๒.๓/ กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ ธันวาคม 2556 เรื่อง โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน เรียน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด สิ่งที่ส่งมาด้วย 1. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน จำนวน 1 ชุด 2. สำเนาหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด่วนที่สุด ที่ ศธ 04188/327 ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2556 จำนวน 1 แผ่น 3. สำเนาหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด่วนที่สุด ที่ ศธ 04188/707 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2556 จำนวน 1 แผ่น 4. แนวทางการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน จำนวน 1 ขุด 5. ตัวอย่าง “บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียน ชั้น ป. 6” จำนวน 1 แผ่น

เขียนชื่อ-นามสกุลเด็ก การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 1 โรงเรียนแจ้งผู้ปกครองให้สำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็ก ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก พร้อมเขียนชื่อเด็กกำกับ มอบให้โรงเรียนเมื่อเข้าเรียน เขียนชื่อ-นามสกุลเด็ก สถานบริการติดตามให้วัคซีนแก่เด็กที่รับวัคซีนไม่ครบ ให้ครบถ้วน รวมถึงให้ MMR แก่เด็กชั้น ป. 1 และบันทึก ในสำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กแผ่นเดิมเก็บไว้ที่โรงเรียน

การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 1 (ต่อ) สถานบริการติดตามให้ dT แก่เด็กชั้น ป. 6 และ บันทึกในสำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กแผ่นเดิม โรงเรียนมอบใบสำเนาประวัติการรับวัคซีนแก่เด็ก คืนให้ผู้ปกครองก่อนจบ ป.6 เพื่อให้เด็กนำเป็นหลักฐานใน การศึกษาต่อชั้น ม. 1

การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 6 สถานบริการขอรายชื่อเด็กชั้น ป.6 ที่กำลังจะจบการศึกษา สถานบริการบันทึกการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 และ dT ป.6 ใน “บัตรรับรองการได้รับวัคซีนสำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6”  หากไม่สามารถหาข้อมูลได้ ขอให้สอบถามบุคคลที่เกี่ยวข้อง :-  เจ้าหน้าที่ที่ให้บริการวัคซีนนักเรียนในอดีต  ผู้ปกครองเด็ก หรือครู เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด นำ “บัตรรับรองฯ” ที่บันทึกการได้รับวัคซีนตาม ข้อ ให้โรงเรียนเพื่อมอบให้ผู้ปกครองก่อนเด็กจบ เพื่อให้เด็กนำเป็นหลักฐาน เมื่อเข้า ม.1 2

“ร่าง” บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป. 6 ด้านหลัง ด้านหน้า

การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ม. 1 โรงเรียนแจ้งผู้ปกครองให้นำ “บัตรรับรองฯ” มอบให้โรงเรียนเมื่อเข้าเรียน สถานบริการประสานขอหลักฐานประวัติการรับวัคซีนของเด็กแต่ละราย ตามข้อ เพื่อติดตามให้ MMR หรือ dT แก่เด็กที่ยังได้รับวัคซีนไม่ครบ บันทึกวันที่ให้วัคซีน ลงใน “บัตรรับรองฯ” หรือ สำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กและให้เด็กเก็บไว้เพื่อเป็นข้อมูลประจำตัว 1

ประเด็นขอความร่วมมือสสจ.  ประสานการดำเนินงานกับ สพฐ. เขตทุกเขต เพื่อเริ่มใช้ ประวัติการได้รับวัคซีนเป็นหลักฐานในการรับเด็กเข้าเรียน ชั้น ป.1 และชั้น ม.1 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2557  แจ้งหน่วยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องและสถานบริการ ที่มีโรงเรียนสังกัด สพฐ. ได้ปฏิบัติตามแนวทางของกระทรวงฯ  ติดตามการใช้ประวัติการได้รับวัคซีนเป็นหลักฐานในการรับเด็ก เข้าเรียนชั้น ป. 1 และชั้น ม. 1

2. ยกระดับคุณภาพการให้บริการวัคซีนและ การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ติดตามและประเมินมาตรฐานการดำเนินงาน EPI สคร.สุ่มสำรวจ 50% ของจังหวัดในเขตรับผิดชอบ ดำเนินการระหว่างเดือน พ.ค. - ก. ค. 2558

การเลือกพื้นที่ประเมิน 1 จังหวัด ประเมิน 2 อำเภอ (CUP) จังหวัด อำเภอที่มีรพศ/รพท. อำเภอ รพศ./รพท. รพช. รพสต. รพสต. อำเภอ/รพช./รพสต. ที่ไม่ได้ประเมินหรือนิเทศใน 3 ปีที่ผ่านมา

3. ให้วัคซีนที่จำเป็นและวัคซีนใหม่แก่ประชากรกลุ่มเสี่ยง ขยายพื้นที่การให้บริการวัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิด เชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 2 ,5 และ 6 สนับสนุนวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สำหรับบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข จัดทำโครงการนำร่องการให้บริการวัคซีน HPV ในโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

LAJE วัคซีนไข้สมองอักเสบเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ ในปี 2558 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 ขยายพื้นที่ : จากเดิมจังหวัดเฉพาะในเขตรับผิดชอบ สคร.10 เพิ่มอีก 4 เขต คือ สคร.1 สคร.3 สคร.4 สคร.9

เด็กเกิดตั้งแต่ 1 มกราคม 2557 เป็นต้นมา(1) ครั้งที่ให้วัคซีน อายุ ครั้งที่ 1 อายุ 1 ปี ครั้งที่ 2 อายุ 2 ปี 6 เดือน

ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคปี 2558 แรกเกิด BCG HB1 2 เดือน OPV 1 DTP-HB 1 4 เดือน OPV 2 DTP-HB 2 6 เดือน OPV 3 DTP-HB 3 9 เดือน MMR1 1 ปี LA-JE1 11/2 ปี OPV4 DTP4 21/2 ปี LA-JE2 MMR 2 4 ปี OPV5 DTP5 7 ปี MR2 57-58 +ตรวจสอบประวัติ-catch up 12 ปี dT +ตรวจสอบประวัติ-catch up

ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคปี 2559 แรกเกิด BCG HB1 2 เดือน OPV 1 DTP-HB 1 4 เดือน OPV 2 DTP-HB 2 6 เดือน OPV 3 DTP-HB 3 9 เดือน MMR1 1 ปี LA-JE1 11/2 ปี OPV4 DTP4 21/2 ปี LA-JE2 MMR 2 4 ปี OPV5 DTP5 7 ปี ตรวจสอบประวัติ-catch up 12 ปี dT +ตรวจสอบประวัติ-catch up

เป้าหมายตัวชี้วัด 15 โครงการสำคัญ โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 เป้าหมายตัวชี้วัด 15 โครงการสำคัญ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน dT ในประชากร อายุ 20-50 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในประชากร เด็กอายุ 2.5 - 7 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 มี.ค – เม.ย. 57 ต.ค. – ธ.ค. 57 ม.ค. – เม.ย 58 พ.ค. – ก.ย. 58 โครงการนำร่องรณรงค์ dT จ.มุกดาหาร (1.6 แสนโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dTภาคอีสาน 19 จังหวัด (10 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 57จังหวัด (18 ล้านโด๊ส) ให้วัคซีน MR 2 .5 - 7 ปี ทั่วประเทศ

กำหนดการรณรงค์ให้วัคซีน dT กำหนดช่วงเวลาการรณรงค์ วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 เมษายน 2558 โดย 2 เดือนแรกเป็นช่วงที่มีการรณรงค์แบบเข้มข้นในเชิงรุก และ 2 เดือนหลังเป็นช่วงเก็บตก

เป้าหมายโครงการ เป้าหมายของโครงการ Coverage > 85 % (ในระดับตำบล) ในประชากรอายุ 20 ถึง 50 ปี (ผู้ที่เกิดระหว่างมกราคม 2508 ถึง ธันวาคม 2538) วิธีการคำนวณ ตัวตั้ง ใช้จำนวนประชาชนที่ได้รับวัคซีนตามกลุ่มเป้าหมายที่ ระบุไว้ตามทะเบียนสำรวจ (โดยไม่ต้องถามประวัติการได้รับ วัคซีน) ตัวหารตามทะเบียนสำรวจ ไม่นับรวมหญิงตั้งครรภ์

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ประชากรเป้าหมาย ประชากรที่มีอายุ 20 ถึง 50 ปี ที่มารับบริการ ในจังหวัดภาคเหนือ กลาง และภาคใต้ (ผู้ที่เกิดระหว่างมกราคม 2508 ถึง ธันวาคม 2538) ทั้งบุคคลชาวไทยและชาวต่างชาติ  และเพื่อเป็นการกระตุ้นภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบในชุมชน ให้ครอบคลุมมากที่สุด ขอให้เจ้าหน้าที่ ฉีดวัคซีน dT แก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน คนละ 1 ครั้ง 

แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ 2.5 - 7 ปี

การให้วัคซีนหัด เดิม ใหม่ อายุ สิงหาคม 2557 อายุ 7 ปี (ป. 1) เข็มที่ 2 9 - 12 เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) เข็มที่ 2 อายุ สิงหาคม 2557 9 - 12 เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) อายุ 2 ½ ปี เข็มที่ 2 อนาคตยกเลิก พฤษภาคม – กันยายน 2558 ใหม่

เด็กกลุ่มที่ต้องให้วัคซีน (ป.1) เหลือเก็บตก บางราย ส.ค. 57 เด็กกลุ่มที่ต้องให้วัคซีน พ.ค. - ก.ย. 58 กำหนดเวลา ปฏิบัติงาน เด็กเกิด เด็กเกิด ก.พ. 55 เป็นต้นไป เด็ก 7 ปี กำหนดตาราง เดิม MR 2 อายุ 7 ปี (ป.1) ปี 2558 พ.ค. 58 เด็กเกิด พ.ค. 51 เด็ก ป.1 ปี 58 พ.ค. 59 เด็กเกิด ม.ค. 55 ก.ย. 58 เด็กอายุ 3 ปี 3 เดือน ถึง 6 ปี 11 เดือน ยกเลิก MMR 2 (ป.1) เหลือเก็บตก บางราย สิ้นสุด การให้ MR 2 เริ่ม MMR 2 อายุ 2.5 ปี เด็กเกิด มิ.ย. 51 เริ่ม การให้

http://thaigcd.ddc.moph.go.th/

รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ การบันทึกรหัสวัคซีน ปี 2557 1. ปรับการให้วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมันในเด็กนักเรียนชั้น ป.1 เปลี่ยนเป็นให้ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง 2. วัคซีน MR ที่ให้บริการในนักเรียน ป.1 ให้บันทึกรหัสเดิม (072) 3. รณรงค์ให้วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในกลุ่มผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ 073 MMR 2 หัด คางทูม หัดเยอรมัน ฉีด 2 ปี 6 เดือน 072 MMRs ป.1 901 dTC ดีทีซี สำหรับการรณรงค์

ปี 2558 รหัสวัคซีนมาตรฐานที่บันทึก ผ่านฐานข้อมูล 43 แฟ้มของ สนย. 1. การให้วัคซีนรวมหัด-หัดเยอรมันในเด็กอายุ 2.5 ปี -7 ปี 2. รณรงค์ให้วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในกลุ่มผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี รหัสวัคซีนอยู่ใน แนวทาง MR หน้า 4 รหัสวัคซีน อยู่ใน แนวทาง dT หน้า 9 รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ รหัส ICD_10 _TM 073 MMR2 หัด คางทูม หัดเยอรมัน ฉีด 2 ปี 6 เดือน Z27.4 901 dTC ดีทีซี สำหรับการรณรงค์ Z23.5, Z23.6