งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน โรคคอตีบในผู้ใหญ่ อายุ ปี ทั่วประเทศ (dT) ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58) รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ ในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ สำรวจการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเสี่ยงและเร่งรัด เพิ่มความครอบคลุม ในกลุ่มที่มีปัญหา สร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนของระบบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย

2 มาตรการ เร่งรัดความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามกำหนดปกติในเด็กกลุ่มเสี่ยง รณรงค์ให้วัคซีนเพื่อปิดช่องว่างระดับภูมิคุ้มกันในประชากรกลุ่มเสี่ยง วัตถุประสงค์ ให้คนไทยมีภูมิคุ้มกันโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนได้ทั่วถึง เสริมให้การกวาดล้างโรคโปลิโอและกำจัดโรคหัดเป็นผลสำเร็จ ป้องกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนไม่ให้กลับมาระบาดใหม่ โครงการเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปี พ.ศ ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิดในประชากรกลุ่มเป้าหมาย >90% (ยกเว้น MMR >95%) ผู้ป่วยโปลิโอ = 0 พบผู้ป่วยหัด - ปี 57 ไม่เกิน 3.5/แสน (2,275 ราย) - ปี 58 ไม่เกิน 2.5/แสน (1,625 ราย) พบผู้ป่วยคอตีบ < ต่อแสนประชากร (7 ราย) พบผู้ป่วยไอกรน < ต่อแสนประชากร (7 ราย)

3 การดำเนินงานโครงการเฉลิมพระเกียรติฯ
ปีงบประมาณ งบประมาณ 2557 2558 1. สร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนของระบบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย - พัฒนาระบบงาน - พัฒนาระบบคน 30 ล้าน 2. สำรวจการได้รับวัคซีนตาม กำหนดปกติในพื้นที่เสี่ยง 0.4 ล้าน 3. รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรค คอตีบในผู้ใหญ่อายุ ปีทั่วประเทศ 140 ล้าน 220 ล้าน 4. ให้วัคซีนป้องกันโรคหัดในเด็ก อายุ 2 ½ ปี ถึง 7 ปี 580.6 ล้าน 5. รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอใน จังหวัดชายแดนภาคใต้ 16.9 ล้าน รวม 187.3 ล้าน 847.5 ล้าน ภายใน 2 ปี มีค.-เมย.57 มุกดาหาร พ.ย.56 ม.ค.57 พค.-กย.58 ตค.-พย.57 มค.-เมย.58 ในโครงการให้วัคซีนหัดในเด็กอายุ 2 ½ ปี – 7 ปี ปี 57 เป็นงบปกติ สำหรับเด็กอายุ 2 ½ ปี และเด็ก ป.1 ปี 58 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี (คิด cohort ละ 8 แสน ใน 4 cohort เท่ากับ 3.2 ล้านคน วัคซีนคิด MR โด๊ซละ 100 ล้านบาท) รวม 2 ปี ล้านบาท

4 แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ 2.5 - 7 ปี
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้านเวชกรรมป้องกัน ผู้อำนวยการศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ กรมควบคุมโรค

5 การให้วัคซีนหัด เดิม ใหม่ : สิงหาคม 2557 อายุ อายุ อนาคตยกเลิก
เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) เข็มที่ 2 อายุ : สิงหาคม 2557 เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) อายุ 2 ½ ปี เข็มที่ 2 อนาคตยกเลิก พฤษภาคม – กันยายน 2558 ใหม่

6 การปฏิบัติในเรื่อง MMR2
สปสช ได้จัดหาวัคซีนเพิ่ม และดำเนินการตามมติดังกล่าวได้ตั้งแต่ สค. 57 นอกจากนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อเด็กกลุ่มนี้ กรมควบคุมโรคจะจัดหาวัคซีน เพื่อปิด gap immunity แก่เด็กอายุระหว่าง ปี พร้อมกันครั้งเดียวในปี 2558 ปิด gap (เริ่ม 2558) 9 เดือน (เข็มหนึ่ง) 2.5 ปี (เริ่ม สค 2557) 7 ปี/ป.1 (ยกเลิกปี 59)

7 เด็กกลุ่มที่ต้องให้วัคซีน (ป.1) เหลือเก็บตก บางราย
ส.ค. 57 เด็กกลุ่มที่ต้องให้วัคซีน พ.ค. - ก.ย. 58 กำหนดเวลา ปฏิบัติงาน เด็กเกิด เด็กเกิด ก.พ. 55 เป็นต้นไป เด็ก 7 ปี กำหนดตาราง เดิม MMR 2 อายุ 7 ปี (ป.1) ปี 2558 พ.ค. 58 เด็กเกิด พ.ค. 51 เด็ก ป.1 ปี 58 พ.ค. 59 31 ม.ค. 55 ก.ย. 58 เด็กอายุ 3 ปี 3 เดือน ถึง 6 ปี 11 เดือน ยกเลิก MMR 2 (ป.1) เหลือเก็บตก บางราย สิ้นสุด การให้ MR 2 เริ่ม MMR 2 อายุ 2.5 ปี 1 มิ.ย. 51 เริ่ม การให้

8 การเตรียมการก่อนให้วัคซีน ประมาณ เดือนมีนาคม 2558
การเตรียมการก่อนให้วัคซีน ประมาณ เดือนมีนาคม 2558 สำรวจกลุ่มเป้าหมาย คาดประมาณจำนวนวัคซีน วางแผนปฏิบัติการ

9 กำหนดช่วงเวลาการจัดส่งวัคซีน MR
แจ้งปริมาณวัคซีน จำนวนรอบ และกำหนดวันส่งวัคซีนในแต่ละรอบ เภสัชกรขัตติยะ อุตม์อ่าง ประสานจังหวัดในภาคเหนือ (เขตบริการสุขภาพที่ 1-3) โทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ อีเมล์ 2. เภสัชกรหญิงปิยะนาถ เชื้อนาค ประสานกับจังหวัดในภาคกลาง (เขตบริการสุขภาพที่ 4-6) โทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ อีเมล์ เภสัชกรอภิชัย พจน์เลิศอรุณ ประสานกับจังหวัดในภาคใต้ (เขตบริการสุขภาพที่ 7-12) โทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ อีเมล์

10 แบบสำรวจการเบิกวัคซีน MR เพื่อปิดช่องว่างระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด
สำหรับเด็กที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง 31 มกราคม 2555 จังหวัด คลังวัคซีนโรงพยาบาล จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย (คน) จำนวนวัคซีน ที่ขอเบิก (ขวด) รอบที่ 1 รอบที่ 2 ผู้ประสานการรับวัคซีน วดป.ที่ให้จัดส่ง จำนวนวัคซีน (ขวด) วดป ที่ให้จัดส่ง ชื่อ เบอร์โทรศัพท์ เอกสารหมายเลข 2 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

11 แผนการรณรงค์ให้วัคซีนในงาน EPI งบประมาณ 2558
ต.ค. 57 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 58 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. dT ปี ภาคอิสาน กำหนดใหม่ 57 จังหวัด กำหนดเดิมตามแผน 58 MR FLU MR น.ร.ป.1 dT น.ร.ป.6 SIA OPV + EPI (ปีเว้นปี) ตามความต้องการ ของพื้นที่ (หมู่บ้าน/ชุมชน/กลุ่มบ้าน) ตรวจสอบปริมาณความจุของตู้เย็น

12 การให้บริการวัคซีน 2558 แล้วให้วัคซีน MR ครั้งนี้* ดังตาราง ไม่ต้องให้
ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน MMR ในอดีต แล้วให้วัคซีน MR ครั้งนี้* ดังตาราง ประวัติการได้รับวัคซีน ในอดีต การให้วัคซีนครั้งนี้ ไม่เคยได้รับวัคซีน/ไม่ทราบ 1 เข็ม แล้วให้อีก 1 ครั้งเมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 เคยได้ 1 เข็ม 1 เข็ม (ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน) เคยได้ 2 เข็ม (เข็มสุดท้ายอายุตั้งแต่ 18 เดือน) ไม่ต้องให้ วัคซีน MR ครั้งนี้* : เด็กเกิด 1 มิย. 51 ถึง 31 มค. 55

13 การปฏิบัติงานหลังให้บริการ
การติดตามเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มารับวัคซีน MR  การจัดทำรายงาน รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในพื้นที่รับผิดชอบ (เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 95 %) รายงานการให้บริการวัคซีน MR

14 เอกสารหมายเลข 4 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2
ในเด็กกลุ่มเป้าหมายที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง วันที่ 31 มกราคม 2555 สถานบริการ ตำบล อำเภอ จังหวัด หมู่ที่ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย ที่มีอยู่จริงในพื้นที่รับผิด ชอบ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน MR เด็กกลุ่มเป้าหมายในจังหวัด เด็กกลุ่มเป้าหมาย นอกจังหวัด เด็กต่าง ชาติ ผลการให้วัคซีน เด็กกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เด็กกลุ่มเป้าหมายนอกพื้นที่ ได้รับในพื้นที่ ได้รับจากที่อื่น ความครอบ คลุม (%) (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) รวม เอกสารหมายเลข 4 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

15 ตำบล แบบ MR 3 แบบรายงานผลการให้วัคซีน MR
ในเด็กกลุ่มเป้าหมายที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง วันที่ 31 มกราคม 2555 อำเภอ จังหวัด ตำบล จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่รับผิด ชอบ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน MR เด็กกลุ่มเป้าหมายในจังหวัด เด็กกลุ่มเป้า หมายนอกจังหวัด เด็กต่าง ชาติ ผลการให้วัคซีน เด็กกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เด็กกลุ่มเป้า หมายนอกพื้นที่ ได้รับในพื้นที่ ได้รับจากที่อื่น ความครอบคลุม (%) (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) รวม เอกสารหมายเลข 5 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

16 เอกสารหมายเลข 6 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2
ในเด็กกลุ่มเป้าหมายที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง วันที่ 31 มกราคม 2555 จังหวัด อำเภอ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน MR เด็กกลุ่มเป้าหมายในจังหวัด เด็กกลุ่มเป้าหมาย นอกจังหวัด เด็กต่าง ชาติ ผลการให้วัคซีน เด็กกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เด็กกลุ่มเป้าหมายนอกพื้นที่ ได้รับในพื้นที่ ได้รับจากที่อื่น ความครอบคลม (%) (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) รวม เอกสารหมายเลข 6 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

17 กำหนดการส่งรายงานความก้าวหน้า
สถานบริการ จำนวนเด็กที่ให้บริการ ทั้งในและนอกเขตรับผิดชอบ สสอ. จำนวนเด็กที่ให้บริการ ทั้งในและนอกเขตรับผิดชอบ ทุก 2 สัปดาห์ (w2,w4) ในช่วง พ.ค. - ก.ย. 58 สสจ. จำนวนเด็กที่ให้บริการ ทั้งในและนอกเขตรับผิดชอบ สำนักงานเขตบริการสุขภาพ

18 กำหนดการส่งรายงานเมื่อสิ้นสุดการให้วัคซีน
สถานบริการ แบบ MR2 สสอ. 10 ต.ค. 58 แบบ MR3 สสจ. 15 ต.ค. 58 แบบ MR4 สคร.ผ่านเขตบริการสุขภาพ/สำนักต. 20 ต.ค. 58

19 วัคซีนที่มีส่วนผสมของหัด
Measles (M) - ไม่แนะนำในประเทศไทย เนื่องจากเด็กทุกคนจำเป็นต้องได้รับ Rubella vaccine ด้วย Measles-Rubella (MR) - ใช้กรณีหา MMR ไม่ได้ Measles-Mumps-Rubella (MMR) - ดีที่สุด ตามสิทธิเด็กไทย Measles-Mumps-Rubella-Vericella (MMR-V) ใช้ในภาคเอกชน ราคาแพง

20 สถานการณ์วัคซีน MMR ที่ควรรู้
EPI อนุญาตให้ใช้เฉพาะ MMR ที่ผลิตจาก คางทูมสายพันธุ์ Urabe และ Jeryl lynn ยิ่งทำให้หาวัคซีนยากขึ้น (ไม่อนุญาตให้ใช้สายพันธุ์ L-Zagreb เนื่องจากพบว่ามี side effect สูงกว่า) ปัจจุบัน สายพันธุ์ Urabe ที่เคยใช้ในเด็ก ป.1 บริษัทเลิกผลิต ยิ่งทำให้การจัดหามีปัญหามากขึ้น (ปี2557 ป.1 จึงใช้ MR) อย่านำ MMR ของเด็กเล็กไปให้นักเรียน มิฉะนั้นจะเกิด MMR ขาดช่วง (ปลายปี 2557) เหมือนเมื่อปีที่ผ่านมา

21 รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
การบันทึกรหัสวัคซีน ปี 1. ปรับการให้วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมันในเด็กนักเรียนชั้น ป.1 เปลี่ยนเป็นให้ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง (073) 2. วัคซีน MR ที่ให้บริการในนักเรียน ป.1 ให้บันทึกรหัสเดิม (072) 3. รณรงค์ให้วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในกลุ่มผู้ใหญ่อายุ ปี (901) รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ 073 MMR 2 หัด คางทูม หัดเยอรมัน ฉีด 2 ปี 6 เดือน 072 MMRs ป.1 901 dTC ดีทีซี สำหรับการรณรงค์


ดาวน์โหลด ppt โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google