ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ผลของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวลและความปวดในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด (Effect of music therapy on anxiety and pain in cancer patients) ชื่อผู้วิจัย.
Assignment กำหนดส่ง ศุกร์ 12 ก.พ. 2553
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
ข้อมูลการเข้าถึงบริการและคุณภาพบริการ หน่วยบริการในพื้นที่ เขต ๖ ระยอง
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
ผู้วิจัย นางสาวศิริรัตน์ สานุ ผู้นำเสนอ นายภากร แก้วแสน
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรงพยาบาลปราสาท PCT อายุรกรรม.
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
ชื่อโครงการ.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1

คุณลักษณะผู้นำของผู้จัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
โรคเบาหวาน ภ.
ระบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
สาขา การบริหารการศึกษา
LOGO ศึกษาการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศของบุคลากร ในวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย A study to used information technology of personnel at Nongkhai.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การเขียน Abstract บทคัดย่อ (เรื่องย่อ)
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน ตุลาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาววรันธร ปรุงเรณู
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม. พยาบาลวิชาชีพ 7 โรงพยาบาลหาดใหญ่ วิสันต์ สิรินทรโสภณ พ.บ., พ.บ.อว.อายุรศาสตร์ ว.ว.อายุรศาสตร์โรคหัวใจ จอม สุวรรณโณ สำนักงานภาควิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา AMI : เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย สถิติร.พ.หาดใหญ่ในปี พ.ศ. ตุลาคม 2543 ถึง ปี พ.ศ. 2545 พบว่า

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (ต่อ) การบริหารจัดการใจการรักษาพยาบาลที่แตกต่างกัน สภาวะ/โรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่เดิม การมาโรงพยาบาลล่าช้า การไม่เห็นความสำคัญของการรับประทานยา การไม่เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัด เป็นต้น

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

วัตถุประสงค์ของการศึกษา ศึกษาสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ศึกษาระยะเวลาการได้รับยาสลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ศึกษาค่าใช้จ่ายในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน

ขอบเขตของการวิจัย การศึกษา : เป็นการศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่ายในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน โรงพยาบาลหาดใหญ่ ตั้งแต่เดือนกันยายน 2543 ถึง ตุลาคม 2545

วิธีการดำเนินการศึกษา การศึกษานี้เป็นการศึกษาย้อนหลังตั้งแต่เดือนกันยายน 2543 ถึง ตุลาคม 2545 โดยศึกษาจากแฟ้มประวัติ ประชากรคือ แฟ้มประวัติผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน จำนวน 508 ฉบับ กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากสูตร ทาโร่ ยามาเน่ ได้จำนวนตัวอย่างทั้งหมดจำนวน 219 ฉบับ

การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ดังนี้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ดังนี้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า ที (T-test)

ลักษณะข้อมูลทั่วไป

ลักษณะข้อมูลทั่วไป (ต่อ)

ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถควบคุมได้

กลุ่มโรคที่เป็นร่วมกับ AMI

ลักษณะความรุนแรงของโรค

อาการและอาการแสดง

ตำแหน่งของโรคที่พบ

ภาวะแทรกซ้อน

ชนิด AMI การได้รับยา SK

สาเหตุที่ไม่ได้รับยา SK

Time Pt-ER, Rx-ER, ER-Ward, Door due needle time Limit การรักษาใน ER = 10 min Limit การรักษาใน ER-SK = 30 min

รายการค่าใช้จ่ายจำแนกตามประเภทของค่าใช้จ่าย

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างค่าใช้จ่ายรวม วันนอนโรงพยาบาล กับ ผู้ป่วย AMI ไม่มี/มีภาวะแทรกซ้อน P < .05 ค่าใช้จ่ายรวมมีค่าเฉลี่ยในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนกับมีภาวะแทรกซ้อนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 วันนอนร.พ.มีค่าเฉลี่ยในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนกับมีภาวะแทรกซ้อนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จำนวน และร้อยละของผู้ป่วยที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาลในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน กับจำนวนวันนอนโรงพยาบาล (n = 219)

ข้อเสนอแนะ ทีมสุขภาพควรส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความรู้/สอนเกี่ยวกับการดูแลตนเองมากยิ่งขึ้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง แพทย์และพยาบาลผู้ดูแลต้องให้ความสำคัญและดูแลด้วยความรวดเร็ว เพื่อลดระยะเวลาในการได้รับยาสลายลิ่มเลือด ควรปรับปรุงแผนการดูแลหรือแนวทางในการรักษาผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เพื่อลดวันนอนโรงพยาบาล ค่าใช้จ่าย และการเสียชีวิตในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย เฉียบพลัน

ขอบคุณค่ะ 34 น.พ.กมล วีระประดิษฎ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหาดใหญ่ น.พ.กมล วีระประดิษฎ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหาดใหญ่ รศ.ดร.อรัญญา เชาวลิต คณะบดีคณะพยาบาลศาสตร์ ดร.ศศิธร พุมดวง ภาควิชาสูติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คุณสาลี บุญศรีรัตน์ หัวหน้าพยาบาล กลุ่มงานการพยาบาล คุณสุจินต์ สุรภาคย์พงศ์ รองหัวหน้าพยาบาลฝ่ายวิชาการ โรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่