ระบบฐานข้อมูล
ระบบบริการหลังการขาย 4.1 การจัดเก็บข้อมูลด้วยแฟ้มข้อมูล แฟ้มข้อมูล พนักงานขาย ระบบเงินเดือน สลิปเงินเดือน แฟ้มข้อมูล พนักงานขาย รายงาน ระบบบริการหลังการขาย แฟ้มข้อมูล พนักงานขาย ใบสั่งซื้อ ระบบสิน้าคงคลัง
ระบบบริการหลังการขาย 4.2 การประมวลผลในลักษณะฐานข้อมูล ระบบเงินเดือน …… ข้อมูลพนักงานขาย ระบบจัดการ ฐานข้อมูล DBMS ระบบบริการหลังการขาย ข้อมูลลูกค้า …… ข้อมูล Supplier ระบบสินค้า คงคลัง …… คำอธิบายข้อมูล
ความหมายของฐานข้อมูล ฐานข้อมูล ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งถูกนำมาใช้ใน งานด้านต่างๆ เช่น ด้านธนาคาร จะมีฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเงินฝาก ข้อมูลการให้สินเชื่อ งานด้านการรักษาพยาบาล ก็จะมีฐานข้อมูลประวัติคนไข้ งานด้านการตลาดก็จะมีฐานข้อมูลลูกค้า ประวัติพนักงานขาย เป็นต้น องค์ประกอบของฐานข้อมูล Hardware หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีหน่วยความจำหลัก หน่วยความจำสำรอง หน่วยประมวลผล อุปกรณ์ input, output เป็นต้น
Software หรือโปรแกรม เป็นสิ่งที่ใช้ประมวลผลฐานข้อมูลเหล่านั้น มักเรียกรวมกันว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System หรือ DBMS) ซึ่ง เป็นโปรแกรมที่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ หมวดหมู่ สามารถเรียกดู เพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูลได้ ข้อมูล (Data) ข้อมูลคือสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการเรียกใช้ จัดเก็บ เพิ่มเติม แก้ไข ข้อมูลในลักษณะ เป็นฐานข้อมูลจะถูกเรียกใช้ร่วมกันได้ ระหว่างผู้ใช้งานต่างกัน บุคลากร คือผู้ใช้ฐานข้อมูล มีผู้ใช้เกี่ยวข้องกันดังนี้
ผู้ใช้ทั่วไป เป็นผู้ที่ต้องใช้ฐานข้อมูลจากระบบงาน เพื่อให้ทำงานสำเร็จ เช่น พนักงานใน ห้างสรรพสินค้าในระดับแสกนบาร์โค้ด พนักงานปฏิบัติการ ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูล คอยป้อนข้อมูลเข้า แก้ไข ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง เฝ้าระวัง นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ เป็นผู้ที่วิเคราะห์ระบบฐานข้อมูลและออกแบบระบบงานที่จะ นำมาใช้ ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน เขียนโปรแกรมเพื่อเก็บ เรียกใช้ข้อมูล และงานอื่นๆ ให้เป็นไปตาม ความต้องการของผู้ใช้ ผู้บริหารฐานข้อมูล เป็นผู้ที่ต้องตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรไว้บ้างในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด ใช้เทคนิคใดเรียกดู กำหนดระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูล สำรอง กู้คืน กำหนดระดับสิทธิ์การเข้า ใช้ เป็นต้น
ข้อดี หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล รักษาความถูกต้องและเชื่อถือได้ของข้อมูล กำหนดความเป็นมาตรฐานของข้อมูลได้ กำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ ข้อมูลและโปรแกรมเป็นอิสระต่อกัน
ข้อเสีย มีต้นทุนสูง มีความซับซ้อน เสี่ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ