นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับ
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
แนวทางการดำเนินงาน วัยเรียน กรมสุขภาพจิต
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย วันที่ 26 กันยายน 2557 ณ โรงแรม เซนทราศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร แจ้งวัฒนะ กทม.

สถานการณ์สุขภาพเด็กวัยเรียน  สถานการณ์สุขภาพเด็กวัยเรียน

การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ แผนการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบบูรณาการ ดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการ โรงเรียนผ่านเกณฑ์ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับกระทรวง 1.เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน ร้อยละ 10 2. อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคน จากการจมน้ำของเด็ก(อายุต่ำกว่า 15 ปี ) ไม่เกิน 6.5 ระดับเขตสุขภาพ 1.จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 95 2.จำนวนโรงเรียนที่ดำเนินกิจกรรมผ่านเกณฑ์ KPI ระดับจังหวัดทุกด้านร้อยละ 40 3.จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กลดลง ตามเกณฑ์ในแต่ละพื้นที่เสี่ยง ระดับจังหวัด 1.โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและ นักเรียนใน รร. ได้รับบริการทันตกรรมป้องกัน รักษา ร้อยละ 50 2. เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 3.เด็ก ป.1 ทุกคนได้รับการตรวจวัดสายตาและ การได้ยิน โดยร้อยละ 80 ของเด็กที่มีปัญหา ได้รับการช่วยเหลือแก้ไข 4.จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กลดลง 2. การจัดบริการสุขภาพร่วมกับโรงเรียน บริการสุขภาพอนามัยนักเรียน ช่วยเหลือ/ติดตาม/ส่งต่อ เด็กได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีระบบติดตามและส่งต่อการบริการสุขภาพ ระบบรายงานการให้บริการและส่งต่อ 3. การมีส่วนร่วมของเครือข่าย สุขภาพระดับอำเภอ (DHS) ; ครอบครัว/ ชุมชน/อปท. พัฒนาสุขภาพเด็ก จัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เสริมสร้างความรู้/ความสามารถและทักษะในการดูแลสุขภาพ (Health literacy) จัดทำแผนการพัฒนาสุขภาพเด็กในระดับอำเภอ จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ/ลดปัจจัยเสี่ยง สุ่มประเมินการดำเนินงานของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ บริการสุขภาพรวมทุกอย่าง เช่น การตรวจคัดกรอง การวัดสายตา การได้ยิน ภาวะโภชนาการ ช่วยเหลือ/ติดตาม/ส่งต่อ โดยสถานบริการ ร่วมกับ รร. การแก้ไขปัญหา การสื่อสารสุขภาพระหว่างบ้านกับโรงเรียน แนวทางการทำงาน ต้องมีระบบข้อมูลสุขภาพนักเรียน มีและใช้ข้อมูลเพื่อขับเคลื่อนกระแสและติดตามประเมินผล (ข้อมูลสุขภาพที่เป็นปัจจุบันและพร้อมใช้งาน)

สิ่งสนับสนุนกลุ่มวัยเรียน ภารกิจกรมฯ สิ่งสนับสนุน (Download ที่ www.anamai.moph.go.th) 1) National Lead คู่มือการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1.โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการ 2.โครงการพัฒนารูปแบบปรับเปลี่ยนและเตือนภัยพฤติกรรมสุขภาพ 3.โครงการสร้างเสริมความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์เพื่อนักเรียนไทยสุขภาพดี 4. โครงการพัฒนาเครือข่ายป้องกันเด็กจมน้ำ 2) Model Development 1.โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก 2.พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน - คู่มือการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - คู่มือแนวทางการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเด็กวัยเรียนและเยาวชน - พัฒนาเกณฑ์อ้างอิง/ระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโต สุขภาพช่องปาก 3.สร้างความพร้อม/สนับสนุนการจัดบริการสุขภาพจิตในพื้นที่ 3) Surveillance 1.สำรวจภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน 2.พัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนกับสุขภาพองค์รวม 4) Technology Transfer 1.แนวทางคัดกรองเด็กอ้วนที่เสี่ยงต่อโรค เพื่อช่วยเหลือ/ส่งต่อ 2.โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในถิ่นทุรกันดาร 3.การพัฒนาศักยภาพครู ก ป้องกันเด็กจมน้ำ 5) M&E, Problem Solving, Evaluation 1.ประเมินมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการ 2.นิเทศ ติดตาม ประเมินผล

ขอบคุณและสวัสดี