PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ. 1994 โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
Advertisements

บทที่ 4 PHP with Database
โครงการ พัฒนาและให้ความรู้การพัฒนา Website เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ช่างสิบหมู่ ณ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จังหวัดนครปฐม ระหว่างวันที่ 7-8 มกราคม.
ธีระพงษ์ แสงรักษาวงศ์
หัวข้อชั้นสูงเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
การจัดการเว็บไซค์คลังความรู้ ด้วยระบบฐานข้อมูล MySql
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Intro : การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
PHP LANGUAGE.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
HTTP Client-Server.
World Wide Web WWW.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
– Web Programming and Web Database
การติดตั้ง AppServ
Introduction to php Professional Home Page :PHP
Php with Database Professional Home Page :PHP
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
PHP คืออะไร หลายคนที่ทำเว็บไซต์ด้วย HTML หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Dreamweaver แล้วอาจสงสัยว่าเมื่อทำ form สำหรับ รับค่าเช่น ชื่อ ที่อยู่
PHP.
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
PHP.
บทที่ 1 เริ่มต้นกับ HTML.
PHP ย่อมาจาก Personal Home Page
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 กรกฎาคม 2550 PHP Structure Programming มหาวิทยาลัยโยนก.
เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม Java
PHP:Hypertext Preprocessor
แนะนำภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์ และระบบฐานข้อมูล
Web Server นางสาวศรีโสภา คูประพัทธ์พงศ์ รหัส
การอบรมพัฒนาระบบ Learning Managment System ด้วยโปรแกรม Moodle คณะแพทยศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 4-5 มี.ค.2551.
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
ภาษาจาวาสคริปต์ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
ซอฟแวร์ระบบจัดการฐานข้อมูล (MySQL)
HTML, PHP.
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
เสรี ชิโนดม รู้จักกับ PHP เสรี ชิโนดม
การติดตั้ง Moodle บนวินโดว์
1. การเขียนโปรแกรมภาษา PHP เบื้องต้น
รายวิชา การออกแบบเว็บไซต์
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ OS Commerce สำหรับงานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดย อ. ประมุข นิภารักษ์ วันศุกร์ที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๙. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น. ห้องปฏิบัติการ.
World Wide Web. You will know หัวเรื่องหลักๆทั้งหมด 5 หัวข้อดังนี้ Basic Web Concept Web application in daily life Essential Web Developer Language How.
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)
Introduction to Web Programming
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสำหรับการ แสดงวีดีโอจากเว็บไซต์ภายนอกใน เวิร์ดเพรส (Development plugin for displaying video from an external website in WordPress)
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
การติดตั้งโปรแกรมคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพวัยรุ่น
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
Introduction to SQL (MySQL) – Special Problem (Database)
Static Website รูปแบบของเว็บไซต์ Dynamic Website.
หลักการออกแบบเว็บไซต์
PHP: [9] ฐานข้อมูล MYSQL
OS Network. Network Operating System, NOS Netware from Novell Microsoft Windows NT Server Microsoft Windows NT 2003 Server AppleShare Unix Linux.
Mr. Winai Purikasem. Introduction  Hypertext model  Use of hypertext in World Wide Web (WWW)  WWW client-server model  Use of TCP/IP protocols in.
PHP.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Bc312 การพัฒนาโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PHP : [1] PHP เบื้องต้น

PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ เป็นเวอร์ชั่น ต่าง ๆ จนกระทั่งถึงเวอร์ชั่นล่าสุดซึ่ง เป็นเวอร์ชั่น 5 นักพัฒนาสำคัญของ เวอร์ชั่น 4 และ เวอร์ชั่น 5 คือ Zeev Suraski และ Andi Gutmans ในขณะนี้มีเว็บเซอร์เวอร์ (Web server) ประมาณ 20 ล้านโดเมน (Domains) ( ข้อมูลปี 2550) ที่ใช้ PHP เราสามารถตรวจสอบจำนวน ของ Domains ที่ใช้ PHP ได้ที่ p/

PHP คืออะไร ?  PHP ย่อมาจาก Personal Home Page tools  ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อให้ตรงตามกฎเกณฑ์ ของ GNU ชื่อในปัจจุบันของ PHP นั้น ย่อมาจาก PHP: Hypertext Preprocessor  PHP เป็นภาษาจำพวก Script language คำสั่งต่าง ๆ จะเก็บอยู่ในไฟล์ ที่เรียกว่า สคริปต์ (Script) และเวลาใช้ งานต้องอาศัยตัวแปรชุดคำสั่ง ตัวอย่าง ของภาษาสคริปต์เช่น JavaScript, Perl เป็นต้น  PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า Server-side script หรือ HTML-embedded scripting language เป็นเครื่องมือที่ สำคัญชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เราสามารถ สร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ภาษาสคริปต์ (Script language) ภาษาสคริปต์มีอยู่ 2 แบบคือ  Server-Side Script เช่น PERL, CGI, ASP, PHP, JSP เป็นต้น  Client-Side Script เช่น JavaScript, VB Script, HTML เป็นต้น

กลไกการทำงาน CLIENT WEB SERVER HTTP Request (url) Gets Page Hello Interprets the PHP code Server response Browser creates the web page Hello

ทำไมภาษา PHP น่าสนใจและน่าใช้ ภาษาอื่นที่ทำหน้าที่คล้าย ๆ กับ ภาษา PHP คือ Perl, Microsoft Active Server Pages (ASP), Java Server Page (JSP), และ Allaire ColdFusion ถ้าเปรียบเทียบภาษา PHP กับ ภาษาอื่น ๆ เหล่านี้เราจะ พบว่าภาษา PHP มีข้อได้เปรียบหลาย อย่างดังต่อไปนี้  มีสมรรถนะสูง : สามารถรองรับการ ใช้งานได้หลายล้าน Hits ในแต่ละวัน  สามารถใช้ PHP ได้บนหลาย ระบบปฏิบัติการโดยที่ไม่ต้องเปลี่ยน โปรแกรม

ทำไมภาษา PHP น่าสนใจและน่าใช้  สามารถติดต่อกับหลายประเภทของ ฐานข้อมูลอย่างเช่น MySQL, PostgreSQL, mSQL, Oracle, Informix, Sybase และสามารถใช้ Open Database Connectivity Standard (ODBC) เพื่อติดต่อกับ ผลิตภัณฑ์ฐานข้อมูลของ Microsoft  PHP เป็น Open source ไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการใช้ เราสามารถ ดาวน์โหลด PHP ได้จาก โดยไม่ ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ  เรียนรู้และใช้ง่าย โดยเฉพาะถ้าเรารู้ ภาษา C, C++, Perl และ Java อยู่ แล้ว

การเตรียมระบบเพื่อใช้ งาน PHP การที่จะสามารถใช้งาน PHP ได้ นั้น เครื่องที่ทำหน้าที่เป็น Web server จะต้องติดตั้งระบบปฏิบัติการและ โปรแกรมต่าง ๆ ดังนี้  ระบบปฏิบัติการ Unix, Linux, Windows เป็นต้น  โปรแกรม Web server เช่น Personal Web Server (PWS), Apache, OmniHTTPd, IIS เป็นต้น  PHP engine หรือ PHP interpreter ที่เหมาะสมกับระบบ ปฏิบัติการที่ใช้ สามารถ Download ได้ฟรีที่

การติดตั้ง AppServ (1) ข้อดีของ AppServ คือ เมื่อเรา ติดตั้ง AppServ จะมีการติดตั้ง โปรแกรมต่าง ๆ ที่มีความจำเป็น สำหรับการใช้งาน PHP ในครั้งเดียว โปรแกรมที่ AppServ จะติดตั้งให้มี ดังนี้ โปรแกรม Apache Web Server ตัวแปรภาษา PHP (PHP Interpreter) ฐานข้อมูล MySQL โปรแกรม phpMyAdmin ที่ช่วย จัดการฐานข้อมูล MySQL เราสามารถ Download โปรแกรม AppServ ได้ที่ m

การติดตั้ง AppServ (2)  เมื่อดาวน์โหลดแล้วจะได้ไฟล์ ติดตั้ง  Double click เพื่อ Setup program

การติดตั้ง AppServ (3)

การติดตั้ง AppServ (4)

การติดตั้ง AppServ (5)

การติดตั้ง AppServ (6) localhost

การติดตั้ง AppServ (7) ใส่ password เลือกเป็น tis620

การติดตั้ง AppServ (8)

การติดตั้ง AppServ (9)

ทดสอบ Web server  เรียก Internet explorer พิมพ์ที่ Address bar ว่า ถ้า ปรากฏหน้าจอดังรูป แสดงว่า Web server ใช้การได้ host หรือ

ทดสอบ PhpMyAdmin และ MySQL  ที่ Address bar เรียก phpMyAdmin หรือ /phpMyAdmin

ทดสอบ PhpMyAdmin และ MySQL

สคริปต์ PHP แรก (1)  เปิดโปรแกรม EditPlus เพื่อ เขียนสคริปต์ PHP

สคริปต์ PHP แรก (3)  บันทึกสคริปต์ที่เขียนไว้ที่โฟลเดอร์ C:\AppServ\www ตั้งชื่อเป็น hello.php

สคริปต์ PHP แรก (4)  ทดสอบสคริปต์ที่เขียนกับ Internet explorer hello.php หรือ /hello.php

นามสกุลของไฟล์ PHP  สคริปต์ PHP สามารถ บันทึกไฟล์โดยสามารถมี ส่วนขยายได้หลายนามสกุล ดังนี้.php ( แนะนำให้ใช้นามสกุล นี้ ).php3.php4 และอื่น ๆ ขึ้นอยู่กับการ ปรับแต่ง Web Server