ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ณ เมือง แห่งหนึ่ง อะไร นะ ณ เมือง แห่งหนึ่ง ข้าศึกบุก แล้ว.
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เรื่อง ลาโง่กับหนังสิงห์โต
แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์. แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์ เป็นตำราแพทย์ของไทยโบราณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รวบรวมขึ้นไว้
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
เรื่องความรู้ทางภาษา
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำพ้อง คำที่เขียนรูปหรือออกเสียงตรงกัน แต่ความหมายต่างกัน  คำพ้อง แบ่งเป็น ๓ ชนิด.
โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
โครงงาน: ฉันหลงทาง 我迷路了
ภาพรวมของหน่วยจัดการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
สวัสดี หนีห่าว กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนมัธยมศึกษาปีที 4 เวลา 2 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ประโยคความซ้อน หรือ สังกรประโยค
คำกริยา.
โดย ครูภาวัติ บุญกาญจน์
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
การอ่านออกเสียง ความมุ่งหมายในการอ่านออกเสียง
คำกริยา.
สอนอย่างไรใน 50 นาที.
คำวิเศษณ์.
เรื่อง คำอุทาน.
คำนาม.
ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ ผู้จัดทำ Next.
สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด
วิชาภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย กลุ่ม ๑.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6)
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
ม้ากับลา.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒
อินเตอร์เน็ตกับครูภาษาอังกฤษ บทสัมภาษณ์ครูสอนภาษาอังกฤษ จัดทำโดย
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
เรื่อง การเขียนคำจากคำอ่าน
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
การฟังเพลง.
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
การรู้สัจธรรมของชีวิต
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ผู้บริหารพบ นักเรียน. การปฏิบัติตัวสำหรับ นักเรียน เพื่อเตรียมการ ประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ประจำปี การศึกษา ๒๕๕๖.
พฤศจิกายน 2014 พระวาจา ทรง ชีวิต "ในพระองค์มีต้นธารแห่งชีวิต" (สดุดี 36,9)
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
รสวรรณคดี คุณครูมลิวัลย์ สินธุบุญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
สนุกกับชนิดของคำ เรื่อง คำอุทาน สรุปแผนผังความคิด เรื่องคำอุทาน
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
นิทาน แม่กบกับวัว โดย เด็กชาย บัญชา กาวิละ ม.1/3 เลขที่ 37.
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
หน่วยที่ ๑๐ การเขียนบทร้อยกรองในงานอาชีพ
เรื่อง ประโยค.
สื่อประกอบการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ คำอุทาน นางพัชรี อุ้ยเลิศ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนภูเรือวิทยา อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย

  คำอุทาน   คำอุทาน คือ คำที่แสดงถึงเสียงที่เปล่งออกมาในเวลาดีใจ, เสียใจ,ตกใจ, ประหลาดใจ, เจ็บปวด,สงสาร เป็นต้น หรือเป็นคำที่ใช้ต่อถ้อยเสริมบทให้บริบูรณ์ยิ่งขึ้น เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคำอุทานนั้นอาจจะเป็น ๑. คำ เช่น แหม! พุทโธ! โอ้! โอ๊ย! ๒. วลี เช่น เวรกรรมจริงหนอ! โอ้อกเราเอ๋ย! กลุ้มใจจริงโว้ย! ๓. ประโยค เช่น ไฟไหม้เจ้าค้า! อกแตกแล้วโว้ย!

ชนิดของคำอุทาน คำอุทาน แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ ๑.อุทานบอกอาการ คำอุทาน แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ ๑.อุทานบอกอาการ สำหรับใช้แสดงความรู้สึกต่างๆ ในการพูด เช่น ชิ! ชิๆ! ชิชะ! โธ่! วะ! วา! หื้อหือ! อุเหม่! แหม! อนิจจัง! อ๊ะ! อือ! อนิจจา! อุบ๊ะ! เอ! เอ๊ะ! เอ๊ว! เอ้อเฮอ! โอ! โอย! โอ๊ย! ฮะ! ฮ้า! ฮึ! เฮ้! เฮ้ย! เฮ้ว! เฮ้อ! ไฮ้!

   ๒. อุทานเสริมบท เป็นคำอุทานที่พูดขึ้นเพื่อเพิ่มเติมถ้อยคำเสริมขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจให้มี ความหมายแต่อย่างใด เช่น สัญญิงสัญญา หนังสือหนังหา กาฟงกาแฟ อาบน้ำอาบท่า ข้างพงข้าวโพด

หน้าที่ของคำอุทาน คำอุทาน เป็นคำที่ไม่มีหน้าที่สำคัญในประโยค แต่ใช้เสริมบทหรือประโยคในการพูดจากัน เพื่อแสดงความรู้สึกและอารมณ์ต่างๆ ไม่มีความหมายเด่นชัด อาจเป็นคำสร้อย คำแทรก เช่น - หนอยแน่ ! อ้าว ! เอ้อเฮ้อ ! อ้อ ! - อาบน้ำอาบท่า ผู้หลักผู้ใหญ่