นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นพ. ภาณุ คูวุฒยากร จิตแพทย์ รพ. สวนปรุง
Advertisements

การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายในวัยเด็ก
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การลดความวิตกกังวล.
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
10 วิธี ดูแลลูกยุคไซเบอร์
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
โรคสมาธิสั้น.
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
พัฒนาการด้านสังคมในวัยเด็ก
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กอย่างสร้างสรร
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก
การสร้างวินัยเชิงบวก
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment)
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
อาณ์รมของเด็ก     ลักษณะเด่นทางอารมณ์ของเด็กวัย 3-5 ขวบ มักเป็นเด็กที่แสดงออกอย่างเปิดเผยชัดเจน และแสดงออกตรง ๆ เช่น รัก รื่นเริง โกรธ โมโห หงุดหงิด อิจฉา.
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
Succsess story กลุ่มงานฟื้นฟูสมรรถภาพหญิง
แบบของบุคลิกภาพที่ไม่พึงประสงค์ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
โดย... นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก ผู้อำนวยการสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดระยอง
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
จิตวิทยาเด็กกระทำความผิด
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
สื่อโทรทัศน์กับ การรับรู้ของเด็ก
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ ปัญหาพฤติกรรมในเด็ก นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

การร้องไห้งอแงจนเขียว สาเหตุ ปกป้องเด็กจนเกินไป แม่เป็นคนเจ้าระเบียบ การบังคับเด็กมากเกินไป ไม่เหมาะกับวัย แนวทางปฏิบัติ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ควรแก้ไขความสัมพันธ์ที่มีกับเด็ก เข้าใจธรรมชาติและจิตใจเด็ก ช่วยให้เด็กพูดออกมาเป็นคำพูด

การเอะอะอาละวาด สาเหตุ ผู้ใหญ่บังคับเด็กในเรื่องที่ไม่จำเป็น เด็กรู้สึกว่าพ่อแม่ละเลยไม่สนใจตนเอง พ่อแม่ตอบสนองเด็กอย่างไม่สม่ำเสมอ เมื่อเด็กถูกปฏิเสธหรือถูกเรียกร้องจากผู้ใหญ่มากไป เด็กรู้สึกอิจฉา บางครั้งเด็กรู้สึกไม่สบาย เด็กรู้สึกกลัว

การเอะอะอาละวาด ( ต่อ ) แนวทางปฏิบัติ ควรปล่อยเด็กให้อยู่คนเดียว ในที่ที่ปลอดภัย เลี้ยงดูเด็กอย่างถูกต้องเหมาะสม เบี่ยงเบนความสนใจของเด็ก ถ้าเด็กมีปัญหาการเจ็บป่วยทางกาย หรือสมอง ควรพาไปพบแพทย์

เด็กขี้กลัว สาเหตุ จากประสบการณ์ที่เคยได้รับ เด็กเล็กมักเอาอย่างพ่อแม่ คำขู่ คำเตือน คำบอกผิดๆ ของผู้ใหญ่ จากบุคลิกภาพของเด็กเอง ความกลัวที่เกิดขึ้นตามวัยบางอย่าง

เด็กขี้กลัว ( ต่อ ) แนวทางปฏิบัติ ให้ความรัก ความอบอุ่นมั่นคงแก่เด็ก ไม่ขู่เด็ก ควรสอนความจริงพูดเหตุผลง่ายๆ ป้องกันเด็กจากประสบการณ์ที่น่าหวาดกลัว แก้การกลัวในผู้ใหญ่ที่ถ่ายทอดให้เด็ก อย่าให้ความรู้ผิดๆ กับเด็ก

เด็กดูดนิ้ว เป็นเรื่องปกติของเด็กช่วงอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปี เด็กมักดูดนิ้วเมื่อหิว อ่อนเพลีย เหนื่อย ง่วง หรือฟันเริ่มขึ้น ถ้าเกิน 5 ปี ขึ้นไป ยังดูดนิ้วเป็นประจำ แสดงว่า อาจเกิดจาก ถูกกระทบกระเทือนทางอารมณ์ ถูกดุ ถูกบังคับ ความไม่เชื่อมั่นในตนเอง อิจฉาพี่น้อง ต้องการความสนใจจากพ่อแม่

การกัดเล็บ พบได้เมื่ออายุประมาณ 3 ปี ส่วนใหญ่จะกัดเล็บมือ บางคนกัดจนเล็บกุด เลือดออก เล็บติดเชื้อ ลักษณะอื่นที่พบร่วม เช่น การอยู่ไม่นิ่ง นอนไม่สงบ ดูดนิ้ว

การกัดเล็บ ( ต่อ ) สาเหตุ แนวทางปฏิบัติ ความเครียดเป็นสาเหตุที่สำคัญที่สุด แนวทางปฏิบัติ ควรแก้ที่ต้นเหตุของความเครียดต่าง ๆ ไม่ควรห้ามด้วยวาจาซ้ำ ๆ

เด็กพูดติดอ่าง มักเกิดจากปัญหาทางอารมณ์มากกว่าทางกาย ช่วงอายุ 2 – 3 ปี พัฒนาการทางภาษา เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เด็กอยากสื่อสารแต่นึกหาคำพูดไม่ทัน

เด็กพูดติดอ่าง ( ต่อ ) แนวทางปฏิบัติ ไม่ล้อเลียน หรือหัวเราะเด็ก ไม่ล้อเลียน หรือหัวเราะเด็ก ควรเปิดโอกาสให้เด็กได้พูด ฟังเด็กพูดด้วยความอดทน ไม่พูดขัดจังหวะ ชมเชยในความรู้สึกนึกคิดและการกระทำของเด็ก

เด็กขี้อิจฉา สาเหตุ แนวทางปฏิบัติ เด็กรู้สึกสูญเสียสิ่งที่เป็นเจ้าของมาก่อน ท่าทีลำเอียงของผู้ดูแล หรือพ่อแม่บางคน แนวทางปฏิบัติ ควรปฏิบัติต่อเด็กด้วยความเท่าเทียม เมื่อพ่อแม่มีบุตรคนใหม่ ควรเตรียมลูกคนโตตั้งแต่ยังท้อง

การเล่นอวัยวะเพศ เด็กวัย 2 – 3 ปี มักมีความสนใจในเรื่องเพศ การเล่นบทบาทเกี่ยวกับพ่อแม่ อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างทางเพศ

การเล่นอวัยวะเพศ( ต่อ ) แนวทางปฏิบัติ พ่อแม่ ผู้ดูแล ควรทำความเข้าใจในตัวเด็ก อย่าห้ามปรามโดยตรง ควรเบี่ยงเบนความสนใจเด็ก พ่อแม่ ผู้ดูแล ไม่ควรไปลูบหรือจับอวัยวะเพศเด็ก ถ้าเด็กหมกหมุ่นมากเกินไป ควรพาไปพบจิตแพทย์

ปัญหาการนอน สาเหตุ เด็กมีความกลัวในความคิด จินตนาการของตนเอง อาการที่พบบ่อย คือ เด็กไม่ยอมนอน ร้องไห้คร่ำครวญ ไม่ยอมห่างแม่

ปัญหาการนอน( ต่อ ) แนวทางปฏิบัติ ให้กำลังใจ ปลอบใจเด็ก ให้เด็กเกิดความเชื่อมั่น กรณีเด็กกลัวความมืด ให้เปิดไฟเวลานอน การป้องกันปัญหาจะเหมาะสมกว่า

ปัสสาวะรดที่นอน สาเหตุ เด็กมีพัฒนาการช้ากว่าปกติ มีการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ เด็กถูกเลี้ยงอย่างปล่อยปละละเลย หรือเข้มงวดเกินไป เด็กมีความวิตกกังวล กลัว มีความเครียด

ปัสสาวะรดที่นอน แนวทางปฏิบัติ ไม่ควรกล่าวโทษ ล้อเลียนเด็ก ให้กำลังใจเด็ก ควรให้เด็กปัสสาวะก่อนนอน