แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 02-2885778, 081-5529455
ทำไมต้อง... ขับเคลื่อนอาเซียน?
จุดเริ่มต้นของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)
วัตถุประสงค์สำคัญ: “เพื่อส่งเสริม ความร่วมมือและ ความช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ส่งเสริมสันติภาพ และความมั่นคง ส่วนภูมิภาค Brunei joined in January 1984, Viet Nam in July 1995, Laos and Myanmar in July 1997 and Cambodia in April 1999. Main Objectives (i) to accelerate economic growth, social progress and cultural development (ii) to promote regional peace and stability. And to maintain close and beneficial cooperation with existing international and regional organizations As stated in the Bangkok Declaration, the Founding Fathers of ASEAN desired “to promote regional cooperation in Southeast Asia in the spirit of equality and partnership and thereby contribute towards peace, progress and prosperity in the region. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ ...” 4
สมาชิกอาเซียน สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999
ข้อมูลทั่วไปของอาเซียน ประชากร - 575 ล้านคน พื้นที่ - 4.5 ล้าน ตร.กม. GDP รวม - US $ 737 billion การค้า - US $ 720 billion การลงทุนจากต่างประเทศ - 25,654.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ EU 501 ล้านคน GDP USD 16.4 trillion
ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน ความบริสุทธิ์ ความเจริญรุ่งเรือง สันติภาพและเสถียรภาพ ความกล้าหาญและพลวัตร ข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลมแสดงถึงความเป็นเอกภาพ
หลักการพื้นฐานของอาเซียน การเคารพในอธิปไตยและบูรณภาพ แห่งดินแดน การไม่แทรกแซงในกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี
ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
การสร้างความเป็นภูมิภาค จุดประสงค์ของการรวมตัวเป็นภูมิภาค ผลประโยชน์ร่วมกัน สันติภาพและความปลอดภัย อำนาจทางการเมือง และ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน ภูมิภาคที่เข้มแข็ง/ศักยภาพในการ แข่งขัน
วิธีการสร้างความเป็นภูมิภาค ลดหรือกำจัดอุปสรรคต่างๆ กระชับความร่วมมือ ผสมผสานกิจกรรมต่างๆ ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม เข้าด้วยกัน ยอมรับและเห็นคุณค่าของความ หลากหลายทางวัฒนธรรมของ แต่ละชาติ
European Union
China (จีน) Japan (ญี่ปุ่น) ROK เกาหลีใต้ The ASEAN+3 co-operation between ASEAN and China, Japan and South Korea, which started in 1997, has paid dividends. Co-opertion covers about 20 sectors, the most prominent being finance co-operation where the Chiang Mai. Initiative for bilateral swap arrangements is in place to assits needy countries in financial situations. Creative ways should be devised to utilize the massive financial reserves in East Asia to support ASEAN integration so that ASEAN can truly play the driver’s role in integrating East Asia ROK เกาหลีใต้
ASEAN Centrality ASEAN+3 ASEAN ASEAN+6 The centrality of ASEAN must be based on, first and foremost, ine inner strength of the ASEAN community. It also depends not only on the form of ASEAN’s external engagement, but also its content. The quality of ASEAN’s leadership is key. ASEAN+6
ASEAN Charter (กฎบัตรอาเซียน) A constitution of ASEAN ธรรมนูญอาเซียน วางกรอบการทำงาน การจัดตั้งสถาบัน และ แนวทางกฎหมายของ ASEAN วัตถุประสงค์หลักของ ASEAN Charter -- สร้าง ASEAN ให้ ….. มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น เคารพกฎกติการ่วมกันมากขึ้น ให้ความสำคัญต่อประชาชนมากขึ้น The most important point about ASEAN Charter is the determination to have a more rules based and legal way of doing things. This is a good signal for the economic integration of ASEAN. There will be more predictability and certainty of policy. As you all know, the ASEAN Charter was signed last November, and its full ratification is expected to be achieved in time for ASEAN Leaders to celebrate its entry into force at our next ASEAN Summit in Bangkok at the end of this year.
ASEAN Milestones 2007 การลงนามในกฎบัตรอาเซียนร่วมกัน ของผู้นำประเทศสมาชิก 2015 มุ่งสู่การสร้างประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ประกอบด้วย - ประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน (ASEAN Political and Security Community) - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) - ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) Today ASEAN is in the process of community building based on three pillars : the ASEAN Security Community, the ASEAN Economic Community and the ASEAN Social – cultural Community. By 2015, before ASEAN turn 50, the leadership wants to have the ASEAN Community in place. Last year in Singapore ASEAN Charter and the ASEAN Economic Community blueprint were signed by Leaders We are working to have the blueprints for the other Three Community ready by the 14th ASEAN Summit in Dec. in Thailand
ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ (เลขาธิการอาเซียน) 2551-2555
ทัศนคติและความตระหนักรู้ เพื่อก้าวไปสู่ “อาเซียน” บทสรุปข้อค้นพบจากการสำรวจข้อมูล ประเทศสมาชิกอาเซียน The survey was carried out last year among university students in all ten ASEAN member countries. There were 2170 respondent and average age was 20 years old. สำรวจข้อมูลของนักศึกษา จำนวน 2,170 คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน
ผม/ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นพลเมืองอาเซียน (I feel that I am a citizen of ASEAN) ลาว 96.0% 2. กัมพูชา 92.7% 3. เวียดนาม 91.7% 4. มาเลเซีย 86.8% 5. บรูไน 82.2% 6. อินโดนีเซีย 73.0% 7. ฟิลิปปินส์ 69.6% 8. ไทย 67.0% 9. พม่า 59.5% 10. สิงคโปร์ 49.3% The most common attitude towards ASEAN was “positive”. Over 75% of students agreed with the statement “I feel I am a citizen of AZEAN “ They may not know yet that the drafters of the ASEAN Charter felt that ASEAN was not yet ready to recognize the ASEAN “citizenship” , the way the European Union does recognize European citizenship; thus the ASEAN Charter is silent on the ASEAN citizenship
คุณรู้เกี่ยวกับอาเซียนจาก … โทรทัศน์ 78.4% ครอบครัว 18.2% โรงเรียน 73.4% 11. การเดินทาง 13.3% หนังสือพิมพ์70.7% 12. ภาพยนตร์ 12.1% หนังสือ 65.0% 13. ดนตรี 9.2% อินเตอร์เน็ต 49.9% 14. งาน/อาชีพ 6.1% วิทยุ 40.3% กีฬา 34.1% 8. โฆษณา 31.6% 9. เพื่อนๆ 27.6%
เป้าหมายของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศรวมเป็น ประชาคมเดียวกัน ในปี พ.ศ. 2558 มีการค้าเสรีระหว่างกัน ไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร เปิดให้มีการเคลื่อนย้ายทุน และการลงทุนอย่างเสรี แรงงานมีฝีมือ มีอิสระในการหางานทำ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของอาเซียน
ระบบการศึกษาของประเทศไทย ASEAN Community ระบบการศึกษาของประเทศไทย
สิ่งท้าทายต่อการศึกษาไทย การสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักของ คนในวงการศึกษาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การเตรียมความพร้อมในการรวมตัวเป็นประชาคม ในปี พ.ศ. 2558 ระบบ ระเบียบ กฎหมาย กระบวนการ สถาบัน หน่วยงาน สถานศึกษา บุคลากร เจ้าหน้าที่ ประชาชน การประเมินผลกระทบด้านต่างๆ และแนวทาง การแก้ไขปัญหา ระบบข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้
นโยบายรองรับการเปิดเสรีร่วมกับประชาคมอาเซียนของกระทรวงศึกษาธิการ จากการประชุมคณะกรรมการระดับชาติ เพื่อ ขับเคลื่อนความร่วมมือด้านการศึกษาในอาเซียน ให้ บรรลุตามเป้าหมายในปี พ.ศ. 2558 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2553 การเผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนัก และเตรียมความพร้อม ของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา นักเรียน และ ประชาชนให้มีทักษะ เพื่อเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน
การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริม การหมุนเวียนของนักศึกษาและครูในอาเซียน และยอมรับในคุณสมบัติร่วมกัน ส่งเสริมการเป็น ศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค การเตรียมความพร้อม เพื่อเปิดเสรีการศึกษา ในอาเซียน การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากรในการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน
จุดเน้นของ สพฐ. ปี 2554 ข้อที่ 8 “นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนา เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)”
เป้าหมายการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน ASEAN Focus School (14 โรง) Sister School (30 โรง) Buffer School (24 โรง) ASEAN Focus School (14 โรง) School สังกัด สพฐ. เป็นโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาการเรียนรู้อาเซียน โดยการ บูรณาการในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เน้นการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการจัดทำหน่วยการเรียนรู้อาเซียนศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เป็นแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนในโรงเรียน และชุมชน ผู้บริหาร ครู และผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และ ความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน จัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน มีมุมอาเซียนศึกษา หรือศูนย์อาเซียนศึกษา เป็นโรงเรียนต้นแบบ การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาที่เน้นอาเซียน เน้นภาษาอังกฤษ ICT พหุวัฒนธรรม ภาษาเพื่อนบ้าน เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เผยแพร่สื่อการเรียนรู้ และ แหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำหรับผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน มีโรงเรียนเครือข่าย อย่างน้อย 9 โรง เป็นโรงเรียนต้นแบบ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน เน้นภาษาเพื่อนบ้าน พหุวัฒนธรรม เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เผยแพร่สื่อการเรียนรู้ และ แหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำหรับผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน มีโรงเรียนเครือข่าย อย่างน้อย 9 โรง
Thank You อาเซียน