คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาเขมร )
คำที่มาจากภาษาเขมร ภาษาเขมรเข้ามาสู่ประเทศไทยโดยทางการค้า ภาษาเขมรเข้ามาสู่ประเทศไทยโดยทางการค้า การสงคราม การเมืองและวัฒนธรรม คำที่มาจากภาษาเขมร ส่วนใหญ่ที่พบมักใช้ในวรรณกรรม , วรรณคดี , คำราชาศัพท์ และ ใช้ในชีวิตประจำวัน มีหลักในการสังเกตดังนี้
หลักการสังเกตคำที่มาจากเขมร ๑. คำภาษาเขมรมักไม่มีวรรณยุกต์ ยกเว้น คำบางคำ เช่น คู่ , เสน่ง , เขม่า เป็นต้น ๒. คำภาษาเขมรมักไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น ลออ , ผจง , ผอบ , ฉงน เป็นต้น ๓. มักใช้ ร , ล , ญ เป็นตัวสะกดในมาตรา แม่ กน เช่น ขจร , สถล , ผจญ
หลักการสังเกตคำที่มาจากเขมร ๔. มักใช้ จ , ส เป็นตัวสะกดในมาตรา แม่ กด เช่น เสด็จ , ตรวจ , จรัส , ดำรัส ๕. มักเป็นคำควบกล้ำและอักษรนำ เช่น กระออม , ขนาด , ขลัง , ขจี ๖. คำราชาศัพท์บางคำมาจากภาษาเขมร เช่น เขนย , แกล , ขนอง
หลักการสังเกตคำที่มาจากเขมร ๗. คำที่ขึ้นต้นด้วย บัง , บัน , บำ , บรร มักมาจากภาษาเขมร เช่น บังคม , บันเหิน , บำเพ็ญ , บรรทม ๘. คำที่ขึ้นต้นด้วย กำ , คำ , จำ , ชำ , ดำ , ตำ , ทำ มักมาจาก ภาษาเขมร เช่น กำเดา , คำนับ , จำเรียง , ชำนะ , ดำเนิน , ตำนาน , ทำนาย
หลักการสังเกตคำที่มาจากเขมร ๙. คำภาษาเขมรส่วนใหญ่มักแผลงคำได้ คือ มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำได้ เช่น รำ เป็น ระบำ ช่วย เป็น ชำร่วย ถก เป็น ถลก
ภาษาไทยกับภาษาเขมรส่วนหนึ่งมีความคล้ายคลึงกัน ความจริง ภาษาไทยกับภาษาเขมรส่วนหนึ่งมีความคล้ายคลึงกัน
อ่านภาษาเขมรแล้วทายเป็นภาษาไทย ๑. ( ข ) โทสขลวนแองเมิลพุมยล เมิลยลแตมุขแอง ( ท ) โทษตนเองมองไม่เห็น มองเห็นแต่หน้าตนเอง ๒. ( ข ) ยลโทสถาชาคุณ ยลแอบุญถานรก ( ท ) เห็นโทษว่าเป็นคุณ เห็นบุญว่าเป็นนรก ๓. ( ข ) นักปราชญ์กันพากย์เทียง ( ท ) นักปราชญ์ถือคำเที่ยง ( คำสัตย์ )
จะมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น นั่นคือ สามารถแผลงคำได้ ภาษาเขมร จะมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น นั่นคือ สามารถแผลงคำได้ เอ ! แล้วนักเรียนจะสามารถ แผลงคำเหล่านี้ได้ไหมเอ่ย
ทำนายคำแผลงสำแดงปัญญา พัก เดิน เสียง สวย ปราศ แทง แจก โลภ แผก แข็ง เพราะ เฉียง ขด ตรวจ อวย