หน่วยที่ 4 การเงิน การธนาคาร และนโยบายการเงิน หน่วยที่ 4 การเงิน การธนาคาร และนโยบายการเงิน
อะไรก็ได้ที่คนในสังคมยอมรับว่าเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เงิน คืออะไร !!! อะไรก็ได้ที่คนในสังคมยอมรับว่าเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
ประวัติความเป็นมาของเงิน เงินที่เป็นสิ่งของหรือสินค้า (Commodity Money) เงินที่เป็นโลหะ เหรียญเงิน กำหนดค่าเงิน เงินที่มีค่าไม่เต็มตัว (Token Coin) เงินที่เป็นกระดาษ (Bank-note) เงินฝากกระแสรายวัน ระบบธนาคาร เช็ค หรือ บัตรพลาสติกของธนาคาร
คุณสมบัติของเงินที่ดี .... ต้องมี “สภาพคล่อง” (liquidity) เป็นที่ยอมรับ คงทน แข็งแรง มีเสถียรภาพ หายาก แบ่งหน่วยได้ง่าย พกพาสะดวก
หน้าที่ของเงิน .... เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (medium of Exchange) เป็นมาตรฐานในการวัดมูลค่า (Standard Unit of Account) เป็นเครื่องรักษามูลค่า (Store of value) เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ในภาย ภาคหน้า (Standard of deferred payment)
มูลค่าของเงิน .... อำนาจในการซื้อ (Value of money) อำนาจการซื้อของเงินที่สามารถซื้อสินค้าและบริการ ซึ่งจะเป็นไปตามที่กำหนดขึ้นมา มูลค่าภายใน มูลค่าของเงินสกุลหนึ่งเพื่อเทียบกับเงินอีกสกุลหนึ่ง มูลค่าภายนอก
ประเภทของเงินที่ใช้ในปัจจุบัน ... เหรียญกษาปณ์ (ผลิตโดย กองกษาปณ์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง) ธนบัตร (ผลิตโดย ธนาคารแห่งประเทศไทย) เงินฝากกระแสรายวัน (ผลิตโดย ธนาคารพาณิชย์)
ปริมาณเงิน หรืออุปทานของเงิน (Money Supply : MS) เหรียญกษาปณ์ + ธนบัตร + เงินฝากกระแสรายวัน (เช็คและบัตรเครดิต) ความหมายแคบ (M2) เหรียญกษาปณ์ + ธนบัตร + เงินฝากทั้งหมด ความหมายแคบ (M3) M2 + เงินฝากสถาบันการเงินอื่น + เงินฝากที่เป็นเงินต่างประเทศ
ความต้องการถือเงิน (Demand of money) ความต้องการเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอย ความต้องการถือเงินเพื่อกรณีฉุกเฉินและจำเป็น ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกำไร