มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
กิจกรรมนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติงาน (ต่อ)
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง มาตรฐานทางเทคนิคของเครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ์ เรื่อง วิธีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และการออกหนังสือรับรองว่าเป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
นำเสนอผลงาน กลุ่มที่ 5 ศพพ. (ศูนย์พักพิง)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา ดร.กัณทิมา ศิริจีระชัย
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
กระบวนการสหกิจศึกษา 1. นักศึกษาแจ้งความจำนงลงทะเบียนเรียนรายวิชาสหกิจศึกษาต่อคณะ/สาขาวิชา 2. นักศึกษาเข้าประชุมเพื่อรับฟังการชี้แจงรายละเอียดต่างๆ ในรายวิชาสหกิจศึกษา.
Cooperative Education
ประสบการณ์การจัดสหกิจศึกษา
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
งานกิจการนิสิต
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ขั้นตอนการดำเนินการฝึกภาคสนาม
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษา สถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไทย-เยอรมัน (TGDE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

เนื้อหา มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษา กระบวนการสหกิจศึกษา กระบวนการและมาตรฐาน ก่อนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ระหว่างการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา หลังการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษา จากที่ สกอ. ได้สนับสนุนให้ สถาบันอุดมศึกษา ดำเนินงานสหกิจศึกษาระหว่างปี ๒๕๔๕ – ๒๕๔๗ มีการสำรวจและประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ พบว่าปัญหาและอุปสรรคหลัก คือ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในหลักการของสหกิจศึกษา ทำให้การดำเนินงานสหกิจศึกษาขาดประสิทธิภาพ ไม่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติที่ดีได้

มาตรฐานการดำเนินงานสหกิจศึกษา ต้องเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐานทางวิชาการตามเกณฑ์ สกอ. และมาตรฐานวิชาชีพ ควบคุม ต้องเป็นการจัดประสบการณ์ตรงในการปฏิบัติงานจริงเต็มเวลาในสถานประกอบการ มาตรฐานการดำเนินงานต้องมีความยืดหยุ่น กำหนดเท่าที่จำเป็น เพื่อให้สถานศึกษา และสถานประกอบการ มีโอกาสพัฒนาการดำเนินงานสหกิจศึกษาได้ แต่ละมาตรฐานแบ่งออกเป็น 2 ระดับคือ มาตรฐานขั้นต่ำและมาตรฐานส่งเสริม

กระบวนการสหกิจศึกษา ก่อนการปฏิบัติงาน ระหว่างการปฏิบัติงาน หลังจากการปฏิบัติงาน

กระบวนการและมาตรฐาน ก่อนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

กระบวนการและมาตรฐาน ก่อนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา การเตรียมการขั้นต้น การจัดหางานสหกิจศึกษา การรับรองคุณภาพงาน การเตรียมความพร้อมนักศึกษา กระบวนการรับสมัครงาน การส่งตัวนักศึกษาไปสถานประกอบการ

การเตรียมการขั้นต้น ด้านหลักสูตร สอดคล้องกับเกณฑ์ของ สกอ. และสมาคมวิชาชีพ : มาตรฐานขั้นต่ำ จำนวนหน่วยกิต ไม่ต่ำว่า ๖ หน่วยกิต ในระบบทวิภาค : มาตรฐานขั้นต่ำ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่า ๑๖ สัปดาห์อย่างต่อเนื่อง : มาตรฐานขั้นต่ำ

การเตรียมการขั้นต้น ด้านการบริหารจัดการ ด้านบุคลากร : คณาจารย์นิเทศ เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง คณาจารย์นิเทศ ต้องมีประสบการณ์สอนไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษาและได้ผ่านการอบรมหลักสูตรการนิเทศ ใน หลักสูตรที่ สกอ. รับรอง : มาตรฐานขั้นต่ำ จัดระบบพี่เลี้ยงให้กับคณาจารย์ที่ไม่มีประสบการณ์การนิเทศ : มาตรฐานขั้นต่ำ เป็นคณาจารย์ในสาขาที่นักศึกษาสังกัดอยู่ : มาตรฐานขั้นต่ำ

การจัดหางานสหกิจศึกษา การหารายชื่อของสถานประกอบการ องค์กรที่รวบรวมรายชื่อสถานประกอบการ องค์กรวิชาชีพต่าง ๆ ข้อมูลสถานประกอบการที่เคยรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเข้าฝึกประสบการณ์วิชาชีพรูปแบบอื่น สถานประกอบการที่เคยทำธุรกรรมกับทางมหาวิทยาลัย บุคลากรภายในมหาวิทยาลัย เช่น อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา สถานประกอบการ หมายถึง หน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ เอกชน ที่มีตำแหน่งงานตรง กับสาขาวิชาชีพของนักศึกษา

การจัดหางานสหกิจศึกษา การคัดเลือกสถานประกอบการ มีการประกอบธุรกิจ ตรงกับสาขาวิชาชีพ มีหน่วยงานภายใน ตรงกับสาขาวิชาชีพ ระยะทาง ระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษา ความปลอดภัย การขอรับการเสนองานจากสถานประกอบการ ติดต่อประสานงานโดยตรง อาจใช้ช่องทางความคุ้นเคยของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย ให้เสนองานผ่านกระบวนการเอกสาร : มาตรฐานส่งเสริม ควรมีข้อมูลลักษณะงานเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกสถานประกอบการของนักศึกษา

การจัดหางานสหกิจศึกษา การแนะนำสถานประกอบการในการเสนองาน ต้องมาจากความต้องการของสถานประกอบการ กำหนดลักษณะงาน / ปัญหา ที่ต้องการจะแก้ไข : มาตรฐานขั้นต่ำ ลักษณะงานต้องเป็นโครงงานหรืองานประจำที่เน้นประสบการณ์ตรงกับสาขาวิชาชีพ เลือกสาขาวิชา ที่มีความสามารถในการแก้ไขงาน / ปัญหา ที่กำหนด แจ้งความต้องการมายังสถานศึกษา : มาตรฐานขั้นต่ำ กำหนดให้เสนองานมาล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษา

การจัดหางานสหกิจศึกษา การแนะนำสถานประกอบการในการเสนองาน กำหนดกระบวนการคัดเลือกนักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่ำ เปิดโอกาสให้สถานประกอบการคัดเลือกนักศึกษา เตรียมผู้นิเทศงานของสถานประกอบการ : มาตรฐานขั้นต่ำ มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาชีพเดียวหรือใกล้เคียงกับนักศึกษา หรือมีความชำนาญในสาขา วิชาชีพเดียวกับนักศึกษา จำนวนงานควรมีมากกว่าจำนวนนักศึกษา : มาตรฐานส่งเสริม ตำแหน่งงานควรมีมากกว่าจำนวนนักศึกษาอย่างน้อยร้อยละ ๑๐

การจัดหางานสหกิจศึกษา การแนะนำสถานประกอบการในการเสนองาน กำหนดผู้นิเทศงาน : มาตรฐานขั้นต่ำ กำหนดไว้ว่า ผู้นิเทศงานของสถานประกอบการ ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาชีพ เดียวหรือใกล้เคียงกับนักศึกษา หรือมีความชำนาญในสาขาวิชาชีพเดียวกับนักศึกษา เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ รวมไปถึงสวัสดิการแก่นักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องมีค่าตอบแทนและสวัสดิการ ตามเหมาะสมและจำเป็นตามลักษณะงาน มีอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่เหมาะสมสำหรับการปฏิบัติงานของนักศึกษา กำหนดกระบวนการคัดเลือกนักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่ำ เปิดโอกาสให้สถานประกอบการคัดเลือกนักศึกษา

กระบวนการรับรองคุณภาพงาน เป็นโครงงาน หรืองานประจำที่เน้นประสบการณ์ตรงกับสาขาวิชาชีพ : มาตรฐานขั้นต่ำ อาจารย์ประจำสาขาวิชาเป็นผู้รับรองงาน : มาตรฐานขั้นต่ำ คณาจารย์ประจำสาขาวิชาพิจารณารับรองงานก่อนให้นักศึกษาเลือก เป็นลักษณะงานที่ท้าทายความสามารถของนักศึกษา เป็นงานที่ไม่ง่าย ไม่ยากเกินไป สามารถแสดงศักยภาพของตนอง : มาตรฐานขั้นต่ำ คณาจารย์ประจำสาขาวิชาประเมินคุณค่าทางวิชาการของงาน สามารถทำงานหรือโครงงาน ได้แล้วเสร็จตามระยะเวลาการปฏิบัติงานของนักศึกษา

กระบวนการรับรองคุณภาพงาน ต้องมีค่าตอบแทนและสวัสดิการ ตามเหมาะสมและจำเป็นตามลักษณะงาน : มาตรฐานขั้นต่ำ มีความปลอดภัย ตามสาขาวิชาชีพ

การเตรียมความพร้อมนักศึกษา สถานศึกษาต้องกำหนดคุณสมบัติและเงื่อนไขทางวิชาการ : มาตรฐานขั้นต่ำ คุณสมบัติของนักศึกษา พิจารณาจากระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม/จำนวนหน่วยกิตรวม ความประพฤติเรียบร้อยไม่อยู่ระหว่างการถูกลงโทษทางวินัย : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องมีคุณสมบัติที่จะสำเร็จการศึกษาและไม่อยู่ระหว่างการถูกลงโทษทางวินัย ผ่านรายวิชาบังคับพื้นฐานของสาขาวิชา : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องผ่านเงื่อนไขรายวิชาตามที่สถานศึกษากำหนด ผ่านกระบวนการเตรียมความพร้อม : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

การเตรียมความพร้อมนักศึกษา กระบวนการเตรียมความพร้อมนักศึกษา เป็นรายวิชาหรือกิจกรรมเตรียมความพร้อม จำนวนชั่วโมงการเตรียมความพร้อม รวมไม่น้อยการ ๓๐ ชั่วโมง ไม่นับรวมการ ปฐมนิเทศ มาตรฐานขั้นต่ำ : มีรายวิชาเตรียมความพร้อมหรือกระบวนการเตรียมความพร้อม นักศึกษา ไม่น้อยกว่า ๓๐ ชม. มาตรฐานขั้นต่ำ : เนื้อหาในการอบรมจำเป็นต่อการพัฒนาทักษะอาชีพ

การเตรียมความพร้อมนักศึกษา เนื้อหาสำหรับเตรียมความพร้อมนักศึกษา การเลือกอาชีพ สถานประกอบการ และการสมัครงาน การเขียนจดหมายและการสัมภาษณ์งาน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย การบริหารงานคุณภาพ เทคนิคการเขียนรายงานและการนำเสนอ ทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การพัฒนาบุคลิกภาพ วัฒนธรรมองค์กร การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ ทักษะความคิดเชิงวิเคราะห์ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม ทักษะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และการตัดสินใจ ทักษะการวางแผน

กระบวนการรับสมัครงาน ติดประกาศงานที่ผ่านการรับรองงานคุณภาพให้นักศึกษาทราบ ตามแบบฟอร์มเสนอ งาน : มาตรฐานส่งเสริม ควรมีข้อมูลลักษณะงานเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกสถานประกอบการของนักศึกษา ให้นักศึกษาเลือกสมัครงานตามความสมใจของตนเอง : มาตรฐานขั้นต่ำ เปิดโอกาสให้นักศึกษาเลือกสถานประกอบการ ควรกำหนดระยะเวลาที่สถานประกอบการตอบกลับ เมื่อสถานประกอบการตอบรับแล้ว ไม่อนุญาตให้เปลี่ยนสถานที่ปฏิบัติงาน

กระบวนการรับสมัครงาน ให้สถานประกอบการคัดเลือกนักศึกษา ตามวิธีการที่สถานประกอบการกำหนด : มาตรฐานขั้นต่ำ เปิดโอกาสให้สถานประกอบการคัดเลือกนักศึกษา เอกสารประกอบการสมัครงาน จดหมายสมัครงาน ใบสมัครงานสหกิจศึกษา ใบแสดงผลการเรียน เอกสารอื่น มีการให้คำแนะนำแก่นักศึกษาที่ไม่ได้รับการคัดเลือก โดยให้สถานศึกษาเป็นผู้ประสานงาน : มาตรฐานส่งเสริม

ก่อนส่งตัวนักศึกษาไปปฏิบัติงาน การปฐมนิเทศนักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องมีการปฐมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา การเตรียมตัวก่อนไปปฏิบัติงาน ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นสถานประกอบการ ข้อมูลการเดินทาง ที่พัก ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้น ระหว่างการปฏิบัติงาน การปฏิบัติตนขณะที่ปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ ทบทวนกระบวนการระหว่างการปฏิบัติงาน การจัดทำเอกสารส่งตัวนักศึกษาเข้าปฏิบัติงาน

ก่อนส่งตัวนักศึกษาไปปฏิบัติงาน การจัดทำเอกสารส่งตัวนักศึกษาเข้าปฏิบัติงาน การเตรียมเอกสารสำหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา เตรียมเอกสารสำหรับส่งข้อมูลกลับมายังมหาวิทยาลัย ระหว่างการปฏิบัติงานของนักศึกษา เอกสารต่างๆ ควรสามารถดึงข้อมูล เพิ่มเติมได้ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีการประชุมระหว่างผู้นิเทศงาน คณาจารย์นิเทศและนักศึกษา : มาตรฐานส่งเสริม ควรมีการพบปะกันระหว่างนักศึกษา คณาจารย์นิเทศ และผู้นิเทศงาน ก่อนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

การประเมินผลกระบวนการก่อนปฏิบัติงานสหกิจศึกษา กระบวนการเตรียมความพร้อมนักศึกษา นักศึกษาต้องเข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากำหนด มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม กระบวนการจัดหางาน มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสถานประกอบการ กระบวนการคัดเลือกและจับคู่ระหว่างนักศึกษากับสถานประกอบการ มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและสถานประกอบการต่อกระบวนการ

กระบวนการและมาตรฐาน ระหว่างการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

กระบวนการและมาตรฐาน ระหว่างการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ช่วงต้นของการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ ข้อมูลการปฏิบัติงานของนักศึกษา การนิเทศงาน ณ สถานประกอบการ ระหว่างการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน

ช่วงต้นของการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ สถานประกอบการทำการปฐมนิเทศนักศึกษา : มาตรฐานของสถานประกอบการ ต้องมีการปฐมนิเทศ สอนงาน และจัดให้นักศึกษาได้เห็นภาพรวมการดำเนินงานของสถาน ประกอบการ ตลอดจนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ส่งตัวนักศึกษาไปยังแผนกที่ปฏิบัติงาน การจัดประสบการณ์ให้นักศึกษาในระหว่างการปฏิบัติงาน : มาตรฐานขั้นต่ำ นักศึกษาได้รับการปฏิบัติเสมือนเป็นพนักงานชั่วคราวเต็มเวลาของสถานประกอบการ มีการกำหนดภาระงาน หรือหัวข้อโครงงาน ที่ตรงกับวิชาชีพและประสบการณ์การ ทำงาน

นักศึกษาปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ การจัดประสบการณ์ให้นักศึกษาในระหว่างการปฏิบัติงาน : มาตรฐานส่งเสริม มีการอบรมเสริมทักษะเฉพาะที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน ควรจัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสเผชิญปัญหาที่ท้าทาย ได้ไตร่ตรอง ได้สร้างความรู้ ใหม่ และประยุกต์ใช้ในสภาพการปฏิบัติงานจริงได้

นักศึกษาปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ สถานประกอบการมอบหมายผู้นิเทศงานในส่วนของสถานประกอบการ มาตรฐานขั้นต่ำ มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาชีพเดียวหรือใกล้เคียงกับนักศึกษา หรือมี ความชำนาญในสาขาวิชาชีพเดียวกับนักศึกษา มีการให้คำปรึกษา ติดตาม แนะนำการปฏิบัติงาน และประสานงานกับหน่วยงานภายใน สถานประกอบการ ตรวจสาระรายงานและให้ข้อเสนอแนะในการเขียนรายงานสหกิจศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา และรวบรวมข้อมูลเพื่อนำเสนอต่อสถานศึกษาและ องค์กรของตน

ข้อมูลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ข้อมูลพื้นฐานสถานประกอบการ ข้อมูลผู้นิเทศงาน หัวข้องาน / หัวข้อโครงงาน ที่ปฏิบัติ แผนการปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ คณาจารย์นิเทศต้องได้รับเอกสารสำหรับการนิเทศ ก่อนการออกนิเทศอย่างน้อย ๗ วัน : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องบันทึกรายงานการปฏิบัติงานประจำวันหรือประจำสัปดาห์ : มาตรฐานขั้นต่ำ

การนิเทศงาน ณ สถานประกอบการ ต้องจัดให้มีการนิเทศของคณาจารย์นิเทศ : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องจัดให้คณาจารย์นิเทศเข้าไปนิเทศงานนักศึกษา ณ สถานประกอบการอย่างน้อย ๑ ครั้ง : มาตรฐานขั้นต่ำ เตรียมเอกสารประกอบการนิเทศงาน ต้องมีการนัดหมายสถานประกอบการเพื่อให้คณาจารย์นิเทศเข้ามานิเทศงานนักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่ำ คณาจารย์นิเทศ ต้องมีแผนการนิเทศนักศึกษา : มาตฐานขั้นต่ำ

การนิเทศงาน ณ สถานประกอบการ เข้าไปนิเทศงาน ณ สถานประกอบการ : มาตรฐานขั้นต่ำ ประชุม ๒ ฝ่าย ระหว่าง คณาจารย์นิเทศกับนักศึกษาสหกิจศึกษา และระหว่างคณาจารย์นิเทศ กับผู้นิเทศงาน ประชุม ๓ ฝ่าย ระหว่าง คณาจารย์นิเทศ นักศึกษาสหกิจศึกษา และผู้นิเทศงาน ใช้ระยะเวลาในการนิเทศงานอย่างน้อย ๑ ชั่วโมง : มาตรฐานขั้นต่ำ

ระหว่างการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ ต้องติดตามความก้าวหน้าของนักศึกษา ประเมินผลและให้ข้อเสนอแนะนักศึกษา ตาม ความจำเป็นของแต่ละสาขาวิชา : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องส่งรายงานความก้าวหน้าต่อ คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานไม่ช้ากว่าสัปดาห์ที่ ๑๐ ของการปฏิบัติงาน : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ให้แก่ คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานก่อนสิ้นสุดการ ปฏิบัติงานและต้องแก้ไขตามข้อแนะนำ : มาตรฐานขั้นต่ำ นักศึกษาต้องส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ที่ได้รับอนุญาตให้เผยแพร่ : มาตรฐานขั้นต่ำ

ระหว่างการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ ในช่วงเวลากึ่งกลางของการปฏิบัติงาน คณาจารย์นิเทศควรเข้ารับฟังการนำเสนอความก้าวหน้า ในการปฏิบัติงานของนักศึกษา ร่วมกับผู้นิเทศงาน : มาตราฐานส่งเสริม ในช่วงสัปดาห์สุดท้าย คณาจารย์นิเทศควรเข้ารับฟังการนำเสนอผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ร่วมกับผู้นิเทศงาน และผู้บริหารองค์กร พร้อมทั้งประเมินผลงาน : มาตรฐานส่งเสริม นักศึกษาควรได้มีการนำเสนอผลการปฏิบัติงานและประสบการณ์ที่ได้รับ ต่อสถานประกอบการ : มาตรฐานส่งเสริม

ก่อนสิ้นสุดการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ ต้องจัดทำรายงาน โดยรายงานต้องมีมาตรฐานเดียวกับรายงานทางวิชาการทั่วไป : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ให้แก่ คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานก่อนสิ้นสุดการปฏิบัติงานและต้อง แก้ไขตามข้อแนะนำ : มาตรฐานขั้นต่ำ นักศึกษาต้องส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ที่ได้รับอนุญาตให้เผยแพร่ : มาตรฐานขั้นต่ำ

การประเมินผลกระบวนการระหว่างการปฏิบัติงาน กระบวนการนิเทศงานสหกิจศึกษา : นักศึกษา ความรู้ ความสามารถทางวิชาการและการประยุกต์ใช้ การปรับตัว และปฏิบัติตามกฎ ระเบียบในสถานประกอบการ ความก้าวหน้าของงานเป็นไปตามแผน การสื่อสารและการนำเสนอผลงาน ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการทำงานด้วยตนเอง การนิเทศต้องเป็นส่วนหนึ่งของการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

การประเมินผลกระบวนการระหว่างการปฏิบัติงาน กระบวนการนิเทศงานสหกิจศึกษา : การดำเนินงาน ระยะเวลาที่คณาจารย์ได้รับเอกสารประกอบการนิเทศ มีการติดตามการนิเทศ ความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อการนิเทศงาน กระบวนการติดต่อและ การประสานงานการนิเทศ กระบวนการนิเทศงานสหกิจศึกษา : คุณภาพการนิเทศงาน เวลาที่คณาจารย์ใช้ เพียงพอต่อความต้องการของนักศึกษา การนิเทศงานมีประโยชน์ต่อนักศึกษาและสถานประกอบการ

กระบวนการและมาตรฐาน หลังการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

กระบวนการและมาตรฐาน หลังการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา การนำเสนอผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา รวบรวมเอกสารสำหรับการประเมินผล การประเมินและวัดผลการปฏิบัติงาน การสรุปผลการดำเนินงาน กิจกรรมเพื่อพัฒนาการดำเนินงานสหกิจศึกษา

การนำเสนอผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ต้องจัดให้มีการสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษา คณาจารย์นิเทศและ คณาจารย์ประจำสาขาวิชา : มาตรฐานขั้นต่ำ ผู้เข้าร่วมรับฟัง นักศึกษาที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา นักศึกษาในสาขาวิชา อาจารย์นิเทศ อาจารย์ประจำสาขาวิชา การประเมินผลการจัดสัมมนา ดูจากร้อยละของคณาจารย์ที่เข้าร่วมการ สัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

การนำเสนอผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา การประเมินพิจารณาจาก คุณภาพของการนำเสนอผลงาน ความรู้ทางวิชาการ ทักษะการ นำเสนอ การถามตอบ : มาตรฐานขั้นต่ำ เชิญ ผู้นิเทศงานของสถานประกอบการเข้าร่วมสัมมนา : มาตรฐานส่งเสริม ควรจัดให้มีการสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษา คณาจารย์นิเทศ คณาจารย์ประจำ สาขาวิชา และผู้นิเทศงาน คณาจารย์นิเทศควรตรวจรูปแบบการนำเสนอผลงาน และให้ข้อเสนอแนะแก่นักศึกษา : มาตรฐานส่งเสริม ควรมีการสัมภาษณ์นักศึกษาสหกิจศึกษาโดยคณาจารย์นิเทศและคณาจารย์ประจำสาขาวิชา : มาตรฐานส่งเสริม

ข้อมูลสำหรับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ผลการประเมินของสถานประกอบการ ต่อการปฏิบัติงานของนักศึกษาตลอดการปฏิบัติงาน : มาตรฐานขั้นต่ำ ประเมินจากความสามารถในการทำงาน โดยสถานศึกษาต้องชี้แจงรายละเอียดให้นักศึกษาทราบ ผลการนิเทศงานของคณาจารย์นิเทศ : มาตรฐานขั้นต่ำ การนิเทศต้องเป็นส่วนหนึ่งของการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ผลการนำเสนอผลงานการปฏิบัติงานของนักศึกษา : มาตรฐานขั้นต่ำ การสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต้องเป็นส่วนหนึ่งของการวัดและประเมินผล รายงานการปฏิบัติงาน / แบบบันทึกการปฏิบัติงาน

การประเมินและวัดผลการปฏิบัติงาน สัดส่วนการให้คะแนนของสถานประกอบการไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 : มาตรฐานขั้นต่ำ ต้องมีสัดส่วนการประเมินผลจากสถานประกอบการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ มาตรฐานไม่ได้กำหนดการให้ค่าระดับคะแนนว่าเป็น S/U หรือ A-F ควรแจ้งผลการประเมินจากผู้นิเทศงานให้กับนักศึกษาทราบ ผู้นิเทศงานควรให้ความคิดเห็นต่อจุดเด่น และข้อควรปรับปรุงของนักศึกษา คณาจารย์ต้องแจ้งข้อมูลการวัดและประเมินผลให้นักศึกษาทราบ

การสรุปผลการดำเนินงาน เก็บข้อมูลสถิติพื้นฐาน เช่น จำนวนนักศึกษา จำนวนสถานประกอบการ รวบรวมความพึงพอใจของสถานประกอบการ ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น พร้อมแนวทางการแก้ไขปัญหา จัดทำเป็นคลังข้อมูลเพื่อ ใช้ในการแก้ไขปัญหาในอนาคต แจ้งข้อมูลย้อนกลับไปยังสถานประกอบการ ควรจัดทำและปรับปรุงฐานข้อมูลสถานประกอบการ : มาตรฐานส่งเสริม เก็บข้อมูลผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน

กิจกรรมเพื่อพัฒนาการดำเนินงานสหกิจศึกษา การประกวดโครงงานสหกิจศึกษา การพัฒนาหลักสูตร ด้านสหกิจศึกษา สร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างยั่งยืน ปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัย

การประเมินผลกระบวนการหลังการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา นักศึกษาควรมีการประเมินพัฒนาการของตนเอง แต่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการวัดและ ประเมินผล เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องประเมินความพร้อมของสถานประกอบการ สถานประกอบการประเมินการประสานงานของสถานศึกษาในภาพรวม

ขอบคุณครับ สถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไทย-เยอรมัน (TGDE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ