หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหมายของวรรณกรรมท้องถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่น หมายถึง งานเขียนทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองที่เกิดขึ้นในท้องที่ต่าง ๆ ของไทยและได้มีการเผยแพร่ สืบทอดมาจนปัจจุบัน
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทของวรรณกรรมท้องถิ่น ๑. นิทาน/ตำนาน ๒. ปริศนาคำทาย ๓. ประวัติศาสตร์ ๔. ตำรา ๕. สุภาษิต ๖. บทเพลง/บทขับ
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง สิ่งที่เกิดจากความคิด สติปัญญา ความเฉลียวฉลาด และประสบการณ์ของบุคคลในท้องถิ่นเพื่อใช้ในการดำเนินชีวิตและแก้ปัญหาชีวิต
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑. เกี่ยวกับประเพณี ๒. เกี่ยวกับอาชีพ ๓. เกี่ยวกับวิถีชีวิต ๔. เกี่ยวกับศิลปหัตถกรรม ๕. เกี่ยวกับการแพทย์ ๖. เกี่ยวกับวรรณกรรม
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณค่าของวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑. คุณค่าด้านจิตใจ ๒. คุณค่าด้านประวัติศาสตร์ ๓. คุณค่าด้านคุณธรรม จริยธรรม ๔. คุณค่าด้านแนวทางการดำเนินชีวิต ๕. คุณค่าทางปัญญา
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑. ตั้งใจศึกษาโดยละเอียด ๒. พิจารณาประเภท และรูปแบบ ๓. วิเคราะห์เนื้อหา ๔. พิจารณาคุณค่า/ประโยชน์ ๕. สืบทอด ๖. เผยแพร่