การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559 สถาบันบำราศนราดูร
IC Conceptual Framework Process - Empowerment - Cascade Communication - Cooperation Network Surveillance and Survey - Report - Incentives Outcomes - Reducing Healthcare Associated Infection (HAI) (Reduce prevalence rate 5℅ per year) - Success rate of network - Increase percentage of IC Staff - Increase quality of infection control in the hospital Implementation Context Image of Health Care Service Confidence Complaint Cost Effective Input IC Policy Best Practice NICC Focal point Practice and Data Base Human Resource Development (Infection Control) Output Prevalence Rate Percentage of Hospital had IC Staff National Guideline Feed back
สถานการณ์ และผลการดำเนินงานด้านโรคติดเชื้อ ผลกระทบจากการติดเชื้อในโรงพยาบาล : อัตราตาย จำนวนวันนอนรพ. ค่ายาต้านจุลชีพ ผลการสำรวจอัตราชุกการติดเชื้อในรพ. ปี ๒๕๕๗ ๓. GAP ของบุคลากร : ยังไม่ได้รับการอบรม ๒ สัปดาห์ ๒๒ รพ., และหลักสูตร IC ๔ เดือน ๑๙๒ รพ. ๔. มาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูลด้านโรคติดเชื้อของแต่ละรพ.ยังไม่เป็นแนวทางเดียวกัน ๕. การเข้าสู่ ASEAN ในปี ๒๕๕๘ กับปัญหาโรคติดเชื้อในจังหวัดชายแดน
มาตรการดำเนินงาน : 1. พัฒนาระบบข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาลสำหรับกระทรวงสาธารณสุข 2. พัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมทั้งกำหนดอัตรากำลังที่จำเป็นด้าน IC ร่วมกับคณะกรรมการ NICC 3. พัฒนาแนวปฏิบัติ สำหรับใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานด้านการป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล คณะอนุกรรมการ NICC มี 3 คณะคือ 1.คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อแห่งชาติ 2. คณะอนุกรรมการพัฒนาแนวทางปฏิบัติด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ 3. คณะอนกรรมการพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
เป้าหมายการลดโรค ปี 2559 : ค่าเป้าหมาย รวม อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล ไม่เกินร้อยละ 7.2 ค่าเป้าหมายรายเขตสุขภาพ อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล ไม่เกินร้อยละ 7.2 หรือลดลงร้อยละ 10 จากฐานข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาลปีงบประมาณ 2558
ผลผลิต: บุคลากรสุขภาพ/เครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้าน IC ≥ ร้อยละ 80 พยาบาล/บุคลากรที่รับผิดชอบงานด้าน IC ของ สคร. มีองค์ความรู้และผ่านเกณฑ์ การอบรมหลักสูตรหลักสูตรพยาบาลควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ๓. เพิ่มระบบจัดเก็บฐานข้อมูลด้าน IC ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันจากเดิมเป็น 200 แห่ง ๔. มีระบบการติดตามประเมินผล การดำเนินงานของเครือข่าย ที่มีประสิทธิภาพ ๕. มีการประเมิน/พัฒนา/ปรับปรุง แนวทางด้าน IC เพื่อให้เหมาะสมในการนำไปใช้ ๖. มีการพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติด้าน IC เพื่อตอบสนองนโยบายของกรมดานการพัฒนาเป็น Excellence center
มาตรการ กิจกรรม และงบประมาณ (กรอบวงเงินงบประมาณ 15 ล้านบาท) 1.พัฒนาระบบข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาลสำหรับกระทรวงสาธารณสุข 1.1. โครงการพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 1,000,000 2.พัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมทั้งกำหนดอัตรากำลังที่จำเป็นด้าน IC ร่วมกับคณะกรรมการ NICC 2.1โครงการสัมมนาระดับชาติ เรื่อง การป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 2.2 โครงการอบรมหลักสูตรระยะกลาง หลักสูตรพยาบาลควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 2.3 โครงการสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (แพทย์ พยาบาล นักเทคนิคการแพทย์) 2.4 โครงการ IC Day เพื่อการพัฒนากระบวนการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถาบันบำราศนราดูร 2.5 โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลและการเตรียมความพร้อม ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อในจังหวัดชายแดนนำร่อง 3,000,000 500,000 700,000 3.พัฒนาแนวปฏิบัติ สำหรับใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานด้านการป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล 3.1 โครงการประเมินและพัฒนาแนวทางด้านการเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อเชื้อในโรงพยาบาล สนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการด้าน IC 4.1 โครงการพัฒนาและบริหารจัดการระบบบริการ ด้านโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล สถาบันบำราศนราดูร 6,800,000
การติดตามประเมินผล : 1. สคร. ติดตามผลการดำเนินงานจาก สสจ. และเครือข่ายในพื้นที่ และรายงานผลการดำเนินงานเป็นรายเดือน 2. สถาบันติดตามข้อมูลจาก สคร.ทุกเดือน และรายงานกองแผนตามแบบฟอร์มที่กำหนด ๓. ติดตามและสื่อสารการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ผ่านระบบ VDO Conference ทุกไตรมาส