อริยสัจ 4.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
กำจัดศัตรูภายในด้วยสมาธิ
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
สถาบันการศึกษา.
Session 2 “ใช้เรื่องเล่า พาเข้าหลักคิด”
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
กระบวนการอริยสัจ 4 เพื่อการแก้ไขปัญหา
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
สันโดษ... เคล็ดลับของความสุข
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
กุ ศ ล กรรมบถ อกุศล กรรมบถ
พระป่า และ คำสอน ชุด ๑.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
Download ใน หรือ
วันอาสาฬหบูชา.
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การใช้อำนาจและอิทธิพล
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
แก่นเรื่อง.
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
การรู้สัจธรรมของชีวิต
บทบาทสมมติ (Role Playing)
วิธีการคิดวิเคราะห์.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
เรื่อง ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
อริยสัจ 4 ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ เป็นรากฐานของคำสอนทั้งมวล ที่ทำให้ผู้เข้าถึง กลายเป็น อริยบุคคล มีดังต่อไปนี้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อริยสัจ 4

อริยสัจ 4 แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ เป็นหลักคำสอนที่สำคัญที่สุดของพระพุทธศาสนา เพราะเป็นคำสอนที่จะช่วยให้บุคคลรอดพ้นจากความทุกข์เพื่อสู่นิพพาน ได้แก่ 1 ทุกข์ 2 สมุทัย 3 นิโรธ 4 มรรค

1. ทุกข์ หมายถึง สภาพที่ทนได้ยากทั้งร่างกายและจิตใจ. 1 1. ทุกข์ หมายถึง สภาพที่ทนได้ยากทั้งร่างกายและจิตใจ 1.1 สภาวทุกข์ หรือ ทุกข์ประจำ ได้แก่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย 1.2 ปกิณกทุกข์ หรือทุกข์จร เป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นภายหลัง เกิดขึ้นแล้วก็ผ่านไปและ เกิดขึ้นเนืองๆ เช่น ความเศร้าโศก ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ 2. สมุทัย หมายถึง เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา( ความอยาก) 2.1 กามตัณหา คือ อยากในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่ตนยังไม่มี 2.2 ภวตัณหา คือ ความอยากมี อยากเป็น อยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นานๆ 2.3 วิภวตัณหา คือ ความอยากมี อยากเป็น อยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นานๆ 3. นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข์ คือ ให้ดับที่เหตุ ซึ่งมีขั้นตอนตามลำดับในมรรค

4. มรรคมีองค์ 8 หนทางแห่งการดับทุกข์. 4 4. มรรคมีองค์ 8 หนทางแห่งการดับทุกข์ 4.1 สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ คือ มีความเข้าใจว่าอะไรคือทุกข์ อะไรคือสาเหตุแห่งทุกข์ อะไรคือความดับทุกข์ 4.2 สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ คือ ความคิดที่ปลอดโปร่ง ความคิดไม่พยาบาท ความคิดไม่เบียดเบียน 4.3 สัมมาวาจา วาจาชอบ คือ ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ 4.4 สัมมากัมมันตะ การงานชอบ คือ ไม่ทำลายชีวิตคนอื่น ไม่ขโมยของ ไม่ผิดในกาม 4.5 สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ คือ การทำมาหากินด้วยอาชีพสุจริต 4.6 สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ คือ เพียรระวังมิให้ความชั่วที่ยังไม่เกิดขึ้น เพียรละความชั่วที่เกิดขึ้น เพียรรักษาความดีที่เกิดขึ้นแล้ว 4.7 สัมมาสติ ความระลึกชอบ คือ พิจารณากาย พิจารณาเวทนา พิจารณาจิต พิจารณาธรรม 4.8 สัมมาสมาธิ การตั้งใจชอบ คือ การตั้งจิตที่แน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง ไมฟุ้งซ่านเพื่อมุ่งมั่นกระทำความดี

ความสำคัญของอริยสัจ 4 1. เป็นคำสอนที่คลุมหลักธรรมทั้งหมดของพระพุทธศาสนา 2. เป็นวิธีการแก้ไขปัญหาตามหลักวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีการ แห่งปัญญา 3. คำสอนที่ชี้ให้เห็นว่ามนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้ ตาม หลักความจริงแห่งธรรมชาติ \

จากอริยสัจ 4 สังเกตได้ว่า. 1. ทุกข์ คือ ตัวปัญหา. 2 จากอริยสัจ 4 สังเกตได้ว่า 1. ทุกข์ คือ ตัวปัญหา 2. สมุทัย คือ สาเหตุของปัญหา 3. นิโรธ คือ การแก้ปัญหา 4. มรรค คือ วิธีการแก้ปัญหา มรรคมีองค์แปด คือ ไตรสิกขา ได้แก่ ศีล สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สมาธิ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ปัญญา สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ

งาน ให้นักเรียนเลือกละครสี่เรื่องดังต่อไปนี้ 1. เมียแต่ง 2 งาน ให้นักเรียนเลือกละครสี่เรื่องดังต่อไปนี้ 1. เมียแต่ง 2.ดอกส้มสีทอง 3.ทวิภพ 4.ระบำดวงดาว หรือละครที่นักเรียนสนใจนอกเหนือจากนี้ แล้วให้นักเรียน ช่วยกันวิเคราะห์แล้วตั้งคำถามและคำตอบว่าการกระทำหรือพฤติกรรมของตัวละครในเรื่องสอดคล้อง หรือ ขัดแย้งกับหลักอริยสัจ 4 อย่างไร

สรุปสิ่งที่ได้จากการเรียนการสอนวันนี้ สรุปสิ่งที่ได้จากการเรียนการสอนวันนี้ 1 ได้เรียนรู้การทำงานร่วมกันเป็นทีม 2 ได้เรียนรู้การคิด วิเคราะห์ 3 ทำให้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอบแบบทั่วถึง 4 เข้าใจและสามารถนำหลักอริยสัจ 4 ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 5 ได้เรียนรู้หลักธรรมของพุทธศาสนาได้อย่างลึกซึ้งมากขึ้น

Cdh;muj;k’vp^jd]k’lkpp/o แก้วที่คว่ำอยู่กลางสายฝน ต่อให้ฝนตกกระหน่ำทั้งคืน ก็ไม่อาจเต็มไปด้วยน้ำ คนที่ไม่ยอมเปิดใจเรียนรู้ ต่อให้คลุกคลีอยู่กับนักปราชญ์ทั้งคืนทั้งวัน ก็ยังโง่เท่าเดิม ว.วชิรเมธี