วัตถุประสงค์ อธิบายความหมายของการรับเข้าได้ อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์นรับเข้าได้ อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์บันทึกภาพ อธิบายความหมายของการส่งออก อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์ส่งออก
การรับเข้าคืออะไร ข้อมูลเข้า คือ ข้อมูลที่ถูกใช้โดยคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถนำเข้าโดยตรงหรือด้วยรูปแบบอื่น อุปกรณ์รับเข้า คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงให้ ระบบสามารถนำไปประมวลผลได้
คีย์บอร์ด คีย์บอร์ดแบบดั้งเดิม คีย์บอร์ดพกพา คีย์บอร์ดตามหลักการยศาสตร์ คีย์บอร์ดแบบไร้สาย พีดีเอคีย์บอร์ด
อุปกรณ์ชี้ เมาส์แบบใช้แสง เมาส์แบบกลไก เมาส์ไร้สาย แทร็กบอล แผ่นสัมผัส แท่งชี้
อุปกรณ์นำเข้า จอสัมผัส จอยสติ๊ก ปากกาแสง สไตลัส
อุปกรณ์สแกนภาพ ออปติคอลสแกนเนอร์ – สแกนเนอร์แบบแท่นนอน (Flatbed scanner) – สแกนเนอร์แบบสแกนเอกสาร (Document scanner) – สแกนเนอร์แบบพกพา (Portable scanner)
เครื่องอ่านบัตร (Card reader) เครื่องอ่านบัตรแถบแม่เหล็ก (Magnetic Card reader) เครื่องอ่านบัตรความถี่คลื่นวิทยุ (Radio frequency card reader)
เครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องอ่านแบบมือถือ (Wand reader) เครื่องอ่านแบบติดตั้ง (Platform scanners) ทำงานร่วมกับเครื่องคิดเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Univesal Product Code : UPC)
เครื่องอ่านอักขระและเครื่องหมาย เครื่องอ่านอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก (Magnetic-Ink Character Recognition : MCR) เครื่องอ่านอักขะด้วยแสง (Optical-Character Recognition : OCR) เครื่องอ่านเครื่องหมายด้วยแสง (Optical-Mark Recognition : OMR)
อุปกรณ์บันทึกภาพ กล้องถ่ายภาพดิจิทัล กล้องวีดีโอดิจิทัล – เว็บแคมที่ฝังอยู่ในโน้ตบุ๊ค – เว็บแคมแบบติดตั้งบนหน้าจอ
อุปกรณ์รับเสียง ไมโครโฟน ระบบรู้จำเสียง (Voice recognition system) – ไมโครโฟน – การ์ดเสียง – ซอฟต์แวร์ประยุกต์ – สั่งงานด้วยเสียง
ข้อมูลออกคืออะไร Output คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว จากคอมพิวเตอร์ Output device คือ อุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์ที่ ได้จากคอมพิวเตอร์ ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ส่งออกเสียง
จอภาพ คุณลักษณะ – ความละเอียด (Resolution) – ดอตพิช (Dot pitch) ค่ายิ่งต่ำจะมีความคมชัดมาก ยิ่งขึ้น – อัตราการรีเฟรซ (Refresh Rate) – ขนาด (Size) – อัตราส่วนจอภาพ (Aspect ratio) 4:3 16:9 16:10
จอภาพแบบแบน (Flat-panel monitor) จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display: LCD) – ไม่มีหลอดภาพ ใช้แสงส่องมาที่ผลึกเหลว – ข้อเสีย มองภาพไม่ชัด ปัญหาเดทพิกเซล แสดงสี ผิดเพี้ยน แพสซีฟเมทริกซ์ (Passive-Matrix) – สร้างภาพโดยการสแกนทั้งหน้าจอ – ใช้พลังงานน้อย แต่ภาพไม่ค่อยคมชัด แอ็กทีฟเมทริกซ์ (Active-Matrix) – ใช้การยิงลำแสงอิเล็กตรอนไปที่แต่ละพิกเซล – ภาพชัดเจน ราคาแพง ใช้พลังงานเยอะ
จอแอลอีดี (LED) ใช้เทคโนโลยีเดียวกับจอแอลซีดี ใช้หลอดไฟชนิด Light emitting diode มีสีสันสดใสและคมชัดกว่า ประหยัดพลังงาน มีราคาสูงกว่าแอลซีดี
จอภาพแบบหลอดรังสีคาโธด ใช้เทคโนโลยีแบบเดียวกับโทรทัศน์ มีความรวดเร็ว มองได้ชัดทุกมุม ราคาถูกมีขนาดใหญ่ มีความร้อนสูง
จอภาพชนิดอื่น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book readers) ดาต้าโปรเจคเตอร์ (Data Projectors) กระดานดิจิทัล (Digital Whiteboard) เอชดีทีวี (HDTV)
เครื่องพิมพ์ คุณลักษณะ – ความละเอียด มีหน่วยเป็น DPI (Dots per inch) – การพิมพ์สี – ความเร็ว – ความจุของหน่วยจำ
เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท สร้างภาพด้วยการพ่นหมึก งานพิมพ์มีคุณภาพ และสีสันหลากหลาย ราคาถูก แต่ หมึกพิมพ์ราคาสูง อัตราความเร็วไม่สูงมากนัก
เครื่องพิมพ์เลเซอร์ ใช้แสงเลเซอร์ในการสร้างการพิมพ์ ราคาแพงกว่าอิงค์เจ็ท พิมพ์ได้รวดเร็วกว่า
เครื่องพิมพ์ชนิดอื่น ๆ เครื่องพิมพ์เทอร์มัล (Thermal printer) เครื่องพิมพ์เทอร์มัลสี (Dye sublimation printer) เครื่องพิมพ์ดอตเมทริกซ์ (Dot matrix printer) พล็อตเตอร์ (Plotter) เครื่องพิมพ์พกพา (Portable Printer)