ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
Advertisements

การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ระบบเศรษฐกิจ.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
สรุปวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผลิตสินค้าและบริการ.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
( Organization Behaviors )
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.ฐิติพร เลาหสูต.
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
(Individual and Organizational)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
ประสบการณ์การปฏิรูป คณะกรรมการปฏิรูป เดชรัต สุขกำเนิด อดีตเลขานุการ คณะกรรมการปฏิรูป.
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
THEORIES of POLITICAL ECONOMY And POLITICAL ECONOMY of DEVELOPMENT ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การพัฒนาภาคพิสดาร เศรษฐศาสตร์การเมืองของโลกทัศน์ตะวันออก Political Economy of Eastern Weltanschauung (Worldviews) ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
ทฤษฎี และหลักการพัฒนาชุมชน
ปรัชญา และวิธีวิทยา ของเศรษฐศาสตร์การเมือง
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
กฏหมายกับสังคมสมัยใหม่
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
การพัฒนาตนเอง.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หนึ่งปีคณะกรรมการ ปฏิรูป เดชรัต สุขกำเนิด เลขานุการคณะกรรมการปฏิรูป.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
วิเคราะห์ปัญหาและยุทธศาสตร์การพัฒนาAnalysis on Problems and Strategies of Development ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม

คำถามที่ถามกันมากในสมัยนี้คือ “ทิศทางการพัฒนาสังคมน่าจะเป็นอย่างไร ในทศวรรษหน้า?”

ในการพัฒนาสังคม เราอาจบอกว่ามีทางเลือก 3 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ 1. มีการพัฒนาภายใต้สมมุติฐานว่าไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงเลย นั้นก็คือ ปัญหาสะสมมากขึ้น 2. มีการปฏิรูปบางส่วนของปัญหาใหญ่ ๆ เช่น ปฏิรูปที่ดิน ปฏิรูปสวัสดิการ ปฏิรูปภาษี และปฏิรูปการศึกษา ฯลฯ 3. มีการพัฒนาสังคมที่เน้นการเปลี่ยนแปลงระบบ นั่นคือ มีภาพสังคมใหม่ มีเป้าหมายใหม่ มีค่านิยมใหม่ มีการปรับเปลี่ยนระบอย่างกว้างขวางแบบถอนรากถอนโคน

การพัฒนาสังคมและการพัฒนามนุษย์ ในระยะหลัง ๆ ในทฤษฎีสังคมและการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมมีการเน้นเรื่อง “การพัฒนามนุษย์” (Human Development) มากขึ้น ทั้งนี้เพราะในระยะที่ผ่านมาเราพูดถึงแต่เรื่องระบบและโครงสร้าง แต่เราไม่มอง ตัวมนุษย์ การพัฒนามนุษย์ ท้จริงแล้วก็คือการพัฒนาความเป็นมนุษย์ให้เกิดขึ้นในชีวิตมนุษย์ หมายความว่า เราจะต้องสร้างเงื่อนไขที่นำไปสู่ความเป็นมนุษย์นั่นเอง

ในระบบสังคมสมัยใหม่ไม่ว่าจะเป็นโลกตะวันตกของทุนนิยมหรือโลกตะวันออกของสังคมนิยม (ก่อนล่มสลาย) ปรากฏว่า มีหลายสิ่งหลายอย่างที่เหมือนกัน นั่นคือ

1. ทั้ง 2 ระบบเน้นความสำเร็จทางด้านวัตถุ เน้นโลกภายนอก ไม่มอง โลกภายในจิตใจ 2. ปัจเจกชนที่อยู่ในระบบจึงมีแนวโน้มที่จะต้องการวัตถุและเน้นค่านิยม ในการบริโภควัตถุเท่านั้น 3. ทั้ง 2 ระบบเน้นการใช้เทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม่เพื่อก่อให้เกิดความก้าวหน้ามากขึ้น 4. มนุษย์ของทั้ง 2 ระบบ ได้กลายเป็นเครื่องจักร

ท่ามกลางวิกฤติการณ์ในสังคมกระแสหลัก ซึ่งหมายถึงกระแสที่กำลังดำเนินอยู่ทั่วโลก ปรากฏว่ามีความพยายามเกิดขึ้นทางทฤษฎีและอุดมการณ์เพื่อสร้างแบบจำลองขึ้นมาใหม่ ที่เรียกว่า แนวคิดแบบ “มนุษยนิยม” (Humanism) ซึ่งเป็นการนำมนุษย์กลับมาสู่ศูนย์กลางของระบบ แนวมนุษยนิยมมีหลายแนว เช่น แนวของคริสต์ศาสนา พุทธปรัชญา แนวมาร์กซิสต์ แนวคานธี และ แนวจิตวิทยาแบบมนุษยนิยม (Humanistic Psychology)

ปรัชญาแนวจิตวิทยามนุษยนิยม (Humanistic Psychology) ทฤษฎีนี้จะเน้นเรื่องใหญ่ ๆ 3 เรื่องด้วยกันคือ เรื่องประสบการณ์ เรื่องความเข้าใจ และเรื่องการพัฒนามนุษย์ ทางด้านประสบการณ์ ย้ำว่า เราควรมีวิธีการสัมผัสโลกด้วยวิธีการใหม่ ๆ ไม่ใช่เน้นวิทยาศาสตร์แบบกลไกหรือเน้นวิชาการ เราไม่เน้นเหตุผล แต่เน้นการพัฒนาความรู้สึกลงไปในจิตใจมนุษย์ โดยไม่ให้มนุษย์ยึดถือกับโลกภายนอก

ทางด้านความเข้าใจ หมายความว่า เราควรจะมองโลกด้วยสายตาที่กว้างไกล มองโลกไม่แยกเป็นส่วน ๆ มีจิตสำนึกมีโลกทัศน์ที่กว้างขึ้น ทางด้านการพัฒนา เราจะใช้แนวทางที่สนองความต้องการของมนุษย์ที่มี หลายระดับจากความต้องการพื้นฐานไปถึงการพัฒนาทางด้านจิตใจและค่านิยม ในระดับปัจเจกชน

ปัญหาและข้อจำกัดของแนวคิด อย่างไรก็ตามทางด้านสังคมมหภาค แนวคิดนี้อาจมีปัญหาเพราะระบบโครงสร้างอำนาจยังเหมือนเดิม เราไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้ ระบบโครงสร้างอำนาจและระบบเศรษฐกิจทุนนิยมสมัยใหม่ยังมีอิทธิพลต่อจิตใจและชีวิตของผู้คนส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ส่วนดีของแนวคิดมนุษยนิยมคือ เรามีปรัชญาใหม่ ๆ ขึ้นมา เราเรียกว่า “ปรัชญาที่เน้นการพัฒนามนุษย์เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาสังคม”

ปรัชญาที่เน้นการพัฒนามนุษย์เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาสังคม มีหลักการใหญ่ ๆ อยู่ 5 หลักการด้วยกัน คือ 1. การพัฒนาต้องเน้นความเสมอภาคของสังคม 2. การพัฒนาต้องเน้นความหลากหลายและความเป็นอิสระของการพัฒนาตนเอง ไม่มีการครอบงำ 3. การคิดคำนึงถึงอนาคตและระบบนิเวศเป็นเรื่องที่สำคัญยิ่ง 4. ไม่ลืมที่จะแก้ไขปัญหาของผู้ยากไร้ 5. ต้องส่งเสริมการปกป้องเสรีภาพ และการสร้างสรรค์ชีวิตของมนุษย์ให้มีความหมาย

ยุทธศาสตร์การพัฒนาแนวพุทธ : กรณี “สรรโวทัย” ในศรีลังกา ยุทธศาสตร์การพัฒนาแนวพุทธ : กรณี “สรรโวทัย” ในศรีลังกา มีการนำเอาแนวคิดบางอย่างของชาวพุทธมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม คือ มีการแบ่งปันทรัพยากรให้แก่เพื่อนมนุษย์ในชุมชน ใช้หลักเศรษฐศาสตร์แห่งความรัก ทำงานเพื่อช่วยกันทางเศรษฐกิจ ยึดหลักความเสมอภาคทางสังคคม

หลักการพัฒนาแบบพุทธ จะมีลักษณะดังต่อไปนี้ ยุทธศาสตร์หลักเน้นที่ “ความเป็นมนุษย์” มากกว่า “ความปรารถนา ที่จะครอบครองวัตถุ” เน้นเรื่องความสามัคคี (Solidarity) ใช้หลักการมีส่วนร่วม (Participation) การพัฒนาไม่ใช่เรื่องของการสงเคราะห์ แต่เป็นเรื่องของการปลดปล่อย และหลุดพ้น (Liberation)