วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Advertisements

ศาสนพิธี.
พิธีกรรมต่างๆ พิธีกรรม =แบบอย่างในการกระทำหรือวิธีปฏิบัติ
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กิจกรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
เทศกาลลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี หรืออยู่ในราวเดือนพฤศจิกายนค่ะ ถือว่าเป็นประเพณีเก่าแก่ของไทยที่มีตั้งแต่ครั้งสมัยสุโขทัยเชียวนะคะ.
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
สื่อประกอบการเรียนรู้
เครื่อข่ายเชื่อมโยงการเรียนรู้
พระธรรมล้ำลึกแห่งความปีติยินดี
บุญ.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์และสยามวงศ์สมัยอยุธยา
สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร
พุทธประวัติ.
สุมนมาลาการ.
วันมาฆบูชา.
History มหาจุฬาฯ.
วันลอยกระทง โดย ด.ญธัญผกา อุตสานนท์ ด.ญ.ธารารัตน์ ทั่งดี
กำหนดการ เวลา ๑๕.๐๐ น. - ผู้ว่าราชการจังหวัด/นายอำเภอ ประธานในพิธี พร้อมด้วย ข้าราชการ พ่อค้าและประชาชน พร้อมกัน ณ สถานที่ประกอบพิธี - ประธานในพิธี จุดธูปเทียนเครื่องนมัสการ.
เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา
ขอเชิญเหล่า พุทธศาสนิกชนผู้สนใจ ร่วมงานบุญวันอาทิตย์ ณ วัดสังฆทาน ในวันอาทิตย์ที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑.
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
นางสาวปทิตตา ราษฎร์ศิริ โรงเรียนพนมไพรวิทยาคาร
ศูนย์สื่อการสอนพระพุทธศาสนา สำนักสงฆ์สวนวาง
ประเพณีชักพระ.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
วันอาสาฬหบูชา.
นายกษิดิ์เดช วันโทน เสนอ เรื่อง วันสำคัญในพระพุทธศาสนา วิชา
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา ปี 2552 ตรงกับวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2552.
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ สอนโดย...ครูธีระพล เข่งวา
การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้และหลักปฏิบัติของพิธีกร
วิชา พุทธประวัติ 6 ปรินิพพาน
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
ครูธีระพล เข่งวา 1 สอนโดย … ครูธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
จัดทำโดย นายธีรภัทร บัวเนียม เสนอต่อ อาจาร์ยสมคิด มีมะจำ
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
เรื่อง มงคล ๓๘ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวังไกลกังวล
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ประเพณี ลอย กระทง.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส33101
ครูธีระพล เข่งวา 1 ครูผู้สอน …… นายธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
หน้าหลัก สมาชิก ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีของภาคกลาง
พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
อาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สถาบันทาง สังคม ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เรื่อง ชาวพุทธตัวอย่าง ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายความสำคัญและปฏิบัติตน ได้ถูกต้องเหมาะสมในวันสำคัญ ทางพระพุทธศาสนา

การบูชา ในวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6 วันอัฏฐมีบูชา การบูชา ในวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6

ความสำคัญ เป็นวันที่ตรงกับวันถวายพระเพลิง พระพุทธสรีระ ณ เมืองกุสินารา พระพุทธสรีระ ณ เมืองกุสินารา เมืองหลวงของแคว้นมัลละ

ณ สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา

เพื่อให้ชาวพุทธประกอบพิธีบูชา ระลึกถึงพุทธคุณ หลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับวันอัฏฐมีบูชา สุจริต 3 1.กายสุจริต 2.วจีสุจริต 3.มโนสุจริต

ความเป็นมา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้ว ๘ วัน มัลลกษัตริย์   เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้ว ๘ วัน มัลลกษัตริย์ แห่งนครกุสินาราพร้อมด้วยประชาชน และพระสงฆ์ มีพระมหกัสสปะเถระเป็นประธานได้พร้อมกันกระทำ การถวายพระเพลิงพุทธสรีระ ณ มกุฏพันธนเจดีย์ แห่งกรุงกุสินารา

สถานที่ถวายพระเพลิงพุทธสรีระ ณ เมืองกุสินารา http://www.wanramtang.com/images/mboard_1194189242/1194189242.jpg

เป็นวันควรแสดงธรรมสังเวชและระลึกถึง   เป็นวันควรแสดงธรรมสังเวชและระลึกถึง พระพุทธคุณให้สำเร็จเป็นพุทธานุสสติภาวนามัยกุศล ในปัจจุบันมีวัดที่จัดพิธีนี้ไม่มากนัก

วันอัฏฐมีเวียนมาบรรจบแต่ละปี พุทธศาสนิกชน   วันอัฏฐมีเวียนมาบรรจบแต่ละปี พุทธศาสนิกชน พระสงฆ์และอุบาสกอุบาสิกาได้พร้อมกันประกอบ พิธีบูชาขึ้น เช่นที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ ปฏิบัติ กันมาแต่เมื่อใด ไม่พบหลักฐาน ปัจจุบันนี้ก็ยังถือ ปฏิบัติกันอยู่  

  การประกอบพิธีอัฏฐมีบูชานั้น นิยมทำกันในตอนค่ำและปฏิบัติอย่างเดียวกันกับประกอบพิธีวิสาขบูชา แต่ไม่มีพิธีเวียนเทียน

หลักธรรมเบื้องต้น เบญจศีล หมายถึง ความประพฤติดีทางกาย เบญจศีล หมายถึง ความประพฤติดีทางกาย และวาจา หรือข้อปฏิบัติสำหรับควบคุมกาย และวาจา 2. เบญจธรรม (เบญจกัลยาณธรรม) หมายถึง หลักธรรมที่ควรปฏิบัติ เป็นเครื่องช่วยใน การบำเพ็ญศีล

วันฟังธรรม วันพระ วันอุโบสถ วันธรรมสวนะ วันฟังธรรม วันพระ วันอุโบสถ

วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ หมายถึง วันประชุมถือศีล ฟังธรรม ( ธรรมสวนะ หมายถึง การฟังธรรม) กำหนดเดือนทางจันทรคติละ 4 วัน ได้แก่ วันขึ้น 8 ค่ำ วันขึ้น 15 ค่ำ (วันเพ็ญ) วันแรม 8 ค่ำ วันแรม 15 ค่ำ ( หากเดือนใดเป็นเดือนขาด ถือเอาวันแรม 14 ค่ำ)

พระ พุทธศาสนิกชนถือเป็นวันสำคัญ 1. ไปวัดเพื่อทำบุญ ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ ฟังธรรม สำหรับผู้ที่เคร่งครัดอาจถือศีลแปด ชาวพุทธยังถือว่าวันพระไม่ควรทำบาปใดๆ การทำบาปหรือไม่ถือศีลห้าในวันพระถือว่า เป็นบาปยิ่งกว่าในวันอื่น

วันโกน เป็นภาษาพูด หมายถึง วันก่อนวันพระ ๑ วัน ประวัติความเป็นมา   วันโกน เป็นภาษาพูด หมายถึง วันก่อนวันพระ ๑ วัน

ในสมัยพุทธกาล พระเจ้าพิมพิสาร ได้เข้าเฝ้า ในสมัยพุทธกาล พระเจ้าพิมพิสาร ได้เข้าเฝ้า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และกราบทูลว่านักบวชศาสนาอื่น มีวันประชุมสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมคำสั่งสอนในศาสนาของเขา แต่ว่าศาสนาพุทธยัง ไม่มีพระพุทธองค์จึงทรงอนุญาติให้ภิกษุสงฆ์ประชุมสนทนาและแสดงธรรมเทศนาแก่ประชาชนในวัน ๘ ค่ำ ๑๔ ค่ำ และ ๑๕ ค่ำ             

             พุทธศาสนิกชนจึงถือเอาวันดังกล่าวเป็น วันธรรมสวนะ ( สำหรับวันธรรมสวนะนี้ เมืองไทยมีมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย )