วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายความสำคัญและปฏิบัติตน ได้ถูกต้องเหมาะสมในวันสำคัญ ทางพระพุทธศาสนา
การบูชา ในวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6 วันอัฏฐมีบูชา การบูชา ในวันแรม 8 ค่ำ เดือน 6
ความสำคัญ เป็นวันที่ตรงกับวันถวายพระเพลิง พระพุทธสรีระ ณ เมืองกุสินารา พระพุทธสรีระ ณ เมืองกุสินารา เมืองหลวงของแคว้นมัลละ
ณ สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา
เพื่อให้ชาวพุทธประกอบพิธีบูชา ระลึกถึงพุทธคุณ หลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับวันอัฏฐมีบูชา สุจริต 3 1.กายสุจริต 2.วจีสุจริต 3.มโนสุจริต
ความเป็นมา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้ว ๘ วัน มัลลกษัตริย์ เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้ว ๘ วัน มัลลกษัตริย์ แห่งนครกุสินาราพร้อมด้วยประชาชน และพระสงฆ์ มีพระมหกัสสปะเถระเป็นประธานได้พร้อมกันกระทำ การถวายพระเพลิงพุทธสรีระ ณ มกุฏพันธนเจดีย์ แห่งกรุงกุสินารา
สถานที่ถวายพระเพลิงพุทธสรีระ ณ เมืองกุสินารา http://www.wanramtang.com/images/mboard_1194189242/1194189242.jpg
เป็นวันควรแสดงธรรมสังเวชและระลึกถึง เป็นวันควรแสดงธรรมสังเวชและระลึกถึง พระพุทธคุณให้สำเร็จเป็นพุทธานุสสติภาวนามัยกุศล ในปัจจุบันมีวัดที่จัดพิธีนี้ไม่มากนัก
วันอัฏฐมีเวียนมาบรรจบแต่ละปี พุทธศาสนิกชน วันอัฏฐมีเวียนมาบรรจบแต่ละปี พุทธศาสนิกชน พระสงฆ์และอุบาสกอุบาสิกาได้พร้อมกันประกอบ พิธีบูชาขึ้น เช่นที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ ปฏิบัติ กันมาแต่เมื่อใด ไม่พบหลักฐาน ปัจจุบันนี้ก็ยังถือ ปฏิบัติกันอยู่
การประกอบพิธีอัฏฐมีบูชานั้น นิยมทำกันในตอนค่ำและปฏิบัติอย่างเดียวกันกับประกอบพิธีวิสาขบูชา แต่ไม่มีพิธีเวียนเทียน
หลักธรรมเบื้องต้น เบญจศีล หมายถึง ความประพฤติดีทางกาย เบญจศีล หมายถึง ความประพฤติดีทางกาย และวาจา หรือข้อปฏิบัติสำหรับควบคุมกาย และวาจา 2. เบญจธรรม (เบญจกัลยาณธรรม) หมายถึง หลักธรรมที่ควรปฏิบัติ เป็นเครื่องช่วยใน การบำเพ็ญศีล
วันฟังธรรม วันพระ วันอุโบสถ วันธรรมสวนะ วันฟังธรรม วันพระ วันอุโบสถ
วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ หมายถึง วันประชุมถือศีล ฟังธรรม ( ธรรมสวนะ หมายถึง การฟังธรรม) กำหนดเดือนทางจันทรคติละ 4 วัน ได้แก่ วันขึ้น 8 ค่ำ วันขึ้น 15 ค่ำ (วันเพ็ญ) วันแรม 8 ค่ำ วันแรม 15 ค่ำ ( หากเดือนใดเป็นเดือนขาด ถือเอาวันแรม 14 ค่ำ)
พระ พุทธศาสนิกชนถือเป็นวันสำคัญ 1. ไปวัดเพื่อทำบุญ ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ ฟังธรรม สำหรับผู้ที่เคร่งครัดอาจถือศีลแปด ชาวพุทธยังถือว่าวันพระไม่ควรทำบาปใดๆ การทำบาปหรือไม่ถือศีลห้าในวันพระถือว่า เป็นบาปยิ่งกว่าในวันอื่น
วันโกน เป็นภาษาพูด หมายถึง วันก่อนวันพระ ๑ วัน ประวัติความเป็นมา วันโกน เป็นภาษาพูด หมายถึง วันก่อนวันพระ ๑ วัน
ในสมัยพุทธกาล พระเจ้าพิมพิสาร ได้เข้าเฝ้า ในสมัยพุทธกาล พระเจ้าพิมพิสาร ได้เข้าเฝ้า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และกราบทูลว่านักบวชศาสนาอื่น มีวันประชุมสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมคำสั่งสอนในศาสนาของเขา แต่ว่าศาสนาพุทธยัง ไม่มีพระพุทธองค์จึงทรงอนุญาติให้ภิกษุสงฆ์ประชุมสนทนาและแสดงธรรมเทศนาแก่ประชาชนในวัน ๘ ค่ำ ๑๔ ค่ำ และ ๑๕ ค่ำ
พุทธศาสนิกชนจึงถือเอาวันดังกล่าวเป็น วันธรรมสวนะ ( สำหรับวันธรรมสวนะนี้ เมืองไทยมีมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย )