P&P expressed demand (Itemized 9 รายการ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
ระบบข้อมูล/ระบบ GIS รพ.สต.
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
งบประมาณ โครงการไข้หวัดใหญ่ จาก สปสช.
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
ปีงบประมาณ ให้ส่งข้อมูลรูปแบบ 18 แฟ้ม สนย. อย่างเดียว โดยแยกข้อมูลที่ส่งออกเป็น 2 ชุด 1. ชุดข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) ได้แก่ แฟ้ม Person,
ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
NHSO National Health Security Office, Thailand แนวทางการใช้ข้อมูล OP/PP Individual 55 กองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค.
1 การเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยงต่อภาวะโรคเม ตาบอลิก ปีงบประมาณ 2553 พื้นที่กรุงเทพมหานคร.
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

P&P expressed demand (Itemized 9 รายการ) ANC, PNC, FP, EPI, TSH, คัดกรองความเสี่ยง, ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คัดกรองมะเร็งปากมดลูก, Depression การจัดสรรชดเชยค่าบริการ  หน่วยบริการประจำ จัดสรรตรง  สอ./สถานพยาบาล/หน่วยงานที่ให้บริการ จัดสรรผ่านสปสช.สาขาจังหวัด รอบ 1. จัดสรรล่วงหน้า ร้อยละ 70 ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมาย อัตรา และผลการดำเนินงานที่ผ่านมาในปี 2553 (ยกเว้น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ บริหารเป็น Project based เหมือนปี 53 และค่าตรวจ TSH สปสช.จ่ายให้แก่กรมวิทย์ฯ แทนหน่วยบริการ ) รอบ2. จัดสรรจริงตามผลการดำเนินงานสิ้นปีงบประมาณ 1

 สปสช.จัดสรรงบประมาณ( 8 รายการ)ให้หน่วยบริการ Itemized ANC, PNC, FP, EPI, คัดกรองความเสี่ยง, ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม TSH, CA Cx, Depression  สปสช.จัดสรรงบประมาณ( 8 รายการ)ให้หน่วยบริการ  จ่ายตรง หน่วยบริการประจำ  จ่ายผ่านสปสช.สาขาจังหวัด  สอ./สถานพยาบาลที่สมัครเข้าร่วม/ หน่วยงานอื่นที่ให้บริการ  รายการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  จ่ายผ่านสปสช.สาขาจังหวัด ตามโครงการที่ได้รับการอนุมัติจาก สปสช.เขต (จัดโอนงวดเดียว 100% )

รายการ Itemized กลุ่มเป้าหมาย การรายงานข้อมูล Target pop การรายงาน/บันทึกข้อมูล 1 ANC - ANC ≤ 12 wk. ทุกสิทธิ รพ.บันทึกผ่านโปรแกรม e-claim มาตรฐานโครงสร้าง 18 แฟ้ม (โดยผ่าน OP-PP Individual record)   - ANC สิทธิ SSS ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน 2 PNC - สิทธิ UC - สิทธิ SSS ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน 3 FP สิทธิสวัสดิการราชการ 4 EPI (ค่าฉีด Vaccine) 5 TSH Excel file 6 คัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง โปรแกรม PPIS 7 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง แบบรายงานสรุปผลการดำเนินงาน  8 คัดกรองมะเร็งปากมดลูก - สิทธิ SSS โปรแกรม Cervical screening 9 ประเมินโรคซึมเศร้า โปรแกรมสารสนเทศ การดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า ** Unit cost แต่ละรายการเหมือนปี 2553

ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย 1. ANC เป้าหมาย : 1. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกสิทธิ ที่มีอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ 2. หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นผู้ประกันตน สิทธิประกันสังคม ที่ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน รายการ อัตราจ่าย แหล่งข้อมูล ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย - ANC ≤ 12 wk. ทุกสิทธิ 500 บาท/คน รพ.บันทึกผ่านโปรแกรม e-claim สอ. บันทึกในมาตรฐานโครงสร้าง 18 แฟ้ม (โดยผ่าน OP-PP Individual record) 1) รหัสหน่วยบริการ 2) เลขประจำตัวประชาชน 3) สิทธิการรักษาพยาบาล 4) วัน/เดือน/ปี ที่เข้ารับบริการ 5) วัน เดือน ปีของประจำเดือน ครั้งสุดท้าย (LMP) ANC สิทธิ SSS ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน - ANC ครั้งแรก รายละ 1,200 บาท - ANC ครั้งต่อไปรายละ 400 บาท 1) เลขรหัสหน่วยบริการ 3) วัน/เดือน/ปี ที่เข้ารับบริการ 4) วัน เดือน ปีของประจำเดือน ครั้งสุดท้าย (LMP)

2. บริการการตรวจเยี่ยมหลังคลอด (PNC) ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย เป้าหมาย : หญิงหลังคลอด สิทธิ UC และสิทธิประกันสังคม ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน รายการ อัตราจ่าย แหล่งข้อมูล ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย PNC ไม่เกิน 150 บาท/ราย รพ.บันทึกผ่านโปรแกรม e-claim สอ. บันทึกในมาตรฐานโครงสร้าง 18 แฟ้ม (โดยผ่าน OP-PP Individual record) 1) เลขรหัสหน่วยบริการ 2) เลขประจำตัวประชาชน 3)วัน/เดือน/ปี ที่คลอดบุตร 4) วัน/เดือน/ปี ที่เข้ารับบริการ การตรวจสุขภาพหลังคลอด หมายถึง การเข้ารับการตรวจภายหลังการคลอดบุตร ในระยะเวลา 4-6 สัปดาห์หลังคลอด โดยสามารถเบิกค่าตรวจได้เพียงครั้งเดียว

3. บริการวางแผนครอบครัว (FP) ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย เป้าหมาย : สิทธิข้าราชการและสิทธิประกันสังคม รายการ อัตราจ่าย แหล่งข้อมูล ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย ยาเม็ด ยาฉีด ใส่ห่วง ยาฝัง 40 บาท/คน/ครั้ง 60 บาท/คน/ครั้ง 500 บาท/คน/ครั้ง 2,200 บาท/คน/ครั้ง รพ.บันทึกผ่านโปรแกรม e-claim สอ. บันทึกในมาตรฐานโครงสร้าง 18 แฟ้ม (โดยผ่าน OP-PP Individual record) 1) เลขรหัสหน่วยบริการ 2) เลขประจำตัวประชาชน 3) วัน/เดือน/ปี ที่เข้ารับบริการ 4) รหัสวิธีการคุมกำเนิด

ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย 4. บริการวัคซีน EPI เป้าหมาย : ประชาชนทุกสิทธิ - กลุ่มเด็กอายุ 0 -5 ปี - กลุ่มเด็กนักเรียน ป.1, ป.6 - กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ครอบคลุมทุกชนิดวัคซีนตามโปรแกรม EPI (ยกเว้น OPV) รายการ อัตราจ่าย แหล่งข้อมูล ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย Vac EPI 10 บาท/ครั้ง ชุดข้อมูลมาตรฐานโครงสร้าง 18 แฟ้ม (โดยผ่าน OP-PP Individual record)(รพ.และ สอ.) 1) รหัสหน่วยบริการ/สถานพยาบาล 2) เลขประจำตัวประชาชน 3) วัน เดือน ปี ที่รับบริการฉีดวัคซีน 4) รหัสวัคซีน (รหัสมาตรฐานสำนัก นโยบายและยุทธศาสตร์ กสธ.) 5) กรณีเด็กที่ไม่มีเลข 13 หลัก (เด็กแรกเกิดที่ยังไม่แจ้งเกิด) และต้องได้รับวัคซีนตาม โปรแกรม EPI ให้จัดส่งข้อมูล HN เพิ่มเติมด้วย จัดสรรเพื่อเป็นค่าชดเชยบริการ ค่าวัสดุ และอุปกรณ์การฉีด สำหรับบริการวัคซีนประเภทฉีดทุกชนิด

JE2 (ห่างจากเข็มแรก4สัปดาห์) dTANC1-3 (0,1,6 ด.ที่ตั้งครรภ์) รายการวัคซีน รหัสวัคซีน จน.ครั้ง/คน/ปี อายุ (ด.) BCG 010 1 HB 041 DTP-HB1 091 2 DTP-HB2 092 4 DTP-HB3 093 6 MMR/Measles 061 9 JE1 051 18 JE2 (ห่างจากเข็มแรก4สัปดาห์) 052 19 DTP4 034 JE3 053 30 DTP5 035 48 dTs1 021 ป.1 BCGs1 (BCGs1) 011  MMRs1 (MMRs) 072 dTs6 (dTs4) 024 ป.6 dTANC1-3 (0,1,6 ด.ที่ตั้งครรภ์) 201,201,203 1-3 ญ.ตั้งครรภ์

ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย 5. การตรวจ TSH เป้าหมาย : เด็กทุกสิทธิ รายการ อัตราจ่าย แหล่งข้อมูล ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย ตรวจครั้งแรก ตรวจยืนยัน (โดยตรวจจากซีรั่ม) ไม่เกิน 140 บาท/คน* 250 บาท/คน ตามแบบรายงานของ สปสช. 1) เลขรหัสหน่วยบริการ/สถานพยาบาล 2) เลขประจำตัวประชาชนมารดา 3) เลขประจำตัวประชาชนทารก (ถ้ามี) 4) วัน/เดือน/ปี ที่เจาะเลือดตรวจ 5) วัน/เดือน/ปี เกิดของทารก 6) ประเภทการตรวจ (คัดกรอง หรือตรวจยืนยัน ) 7) ผลการตรวจ (ปกติ/ผิดปกติ) * สปสช.จ่ายค่าตรวจ TSH แก่กรมวิทย์ฯ (แทนหน่วยบริการ) ในอัตราไม่เกิน 124 บาท/ราย โดยกรมวิทย์ฯ ต้องรายงานผลการตรวจตามแบบที่สปสช.กำหนด และจ่ายค่าชดเชยบริการตรวจแก่หน่วยบริการในอัตรา 16 บาท/คน * รวบรวมข้อมูลการตรวจคัดกรอง TSH จากกรมวิทย์ รายเดือน

6. การตรวจยืนยันความเสี่ยง ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย เป้าหมาย : ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปทุกสิทธิ ที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรค DM, HT, Stroke, Obesity รายการ อัตราจ่าย แหล่งข้อมูล ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย ตรวจยืนยันความเสี่ยง 50 บาท/ราย โปรแกรม PPIS 1) รหัสหน่วยบริการ/สถานพยาบาล 2) เลขประจำตัวประชาชน 3) วัน เดือน ปี ที่คัดกรอง 4) ผลการตรวจร่างกาย และตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ ตามรายการ ที่กำหนดไว้ในแบบบันทึกการ คัดกรอง ข้อที่ 8

7. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย 7. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เป้าหมาย : หญิงไทยอายุ 30-60 ปี สิทธิ UC และสิทธิ SSS เฉพาะผู้ที่ยังไม่เคยได้รับการตรวจคัดกรองฯ ในปีที่ผ่านมา) รายการ อัตราจ่าย แหล่งข้อมูล ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย ตรวจด้วยวิธี Pap smear ตรวจด้วยวิธี VIA การจี้ด้วยความเย็น 250 บาท/คน 70 บาท/คน 160 บาท/คน โปรแกรม Cervical screening 1) รหัสหน่วยบริการ/ สถานพยาบาล 2) ชื่อหน่วยบริการ/ สถานพยาบาล 3) เลขประจำตัวประชาชน 4) วัน เดือนปีที่รับบริการ 5) ผลการตรวจคัดกรอง (ทั้ง Pap smear หรือ VIA)

8. การดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรัง เป้าหมาย : ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (มะเร็ง เบาหวาน โรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง และไตวายเรื้อรัง) รายการ อัตราจ่าย แหล่งข้อมูล ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย เฉพาะรายที่มีผลการประเมินด้วย 9 คำถาม  7 300 บาท/ราย/ปี - ประเมินครั้งแรก 200 บาท/ราย - ติดตาม (Follow up) 100 บาท/ราย โปรแกรมสารสนเทศ การดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าระดับจังหวัด 1) รหัสหน่วยบริการ (Hcode) 2) ชื่อหน่วยบริการ/สถานพยาบาล 3) รหัส ICD-10 โรคเรื้อรัง 4) เลขประจำตัวประชาชน 5) วันเดือนปีที่รับบริการตรวจประเมิน 6) ผลการประเมินด้วย 9 คำถาม และ 8 คำถาม (ในการประเมินครั้งแรก) , ผลการประเมินด้วย 9 คำถาม ในการติดตามต่อเนื่องทุกเดือนอย่าง น้อย 2 ครั้ง

ขั้นตอนการ Payment กำหนดเงื่อนไขการจ่าย  กองทุน PP การตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ของข้อมูลเบื้องต้น  สำนักIT , สบจ. การจ่ายตามเงื่อนไขและการรายงาน  สำนักชดเชยฯ, สำนักบริหารกองทุน การเรียกเงินคืน/จากการ Audit  สำนักชดเชยฯ,สำนัก บริหารกองทุน กรณีอุทธรณ์  สำนักชดเชยฯ, สำนักบริหารกองทุน กำหนดวันปิดรับข้อมูลของปี 2554 ในวันที่ 30 ตค.54 ยกเว้น คัดกรองมะเร็งปากมดลูกปิดรับข้อมูล 15 พย.54 ขออุทธรณ์ได้ภายในวันที่ 30 ธค.54 (ยกเว้นข้อมูล OPPP ind. ไม่มีการอุทธรณ์ข้อมูล)

Itemized ทุกรายการต้องบันทึก ข้อมูลการให้บริการรายบุคคล ผ่านโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบ การจัดสรรงบในปีถัดไป สปสช. เขตสุขภาพ (เขต 13 กรุงเทพมหานคร เขต 9 นครราชสีมา) สามารถกำหนดแนวทางการจัดสรรที่แตกต่างจากนี้ได้โดย - ไม่ขัดแย้งกับหลักเกณฑ์ตามมติของคณะกรรมการหลักฯ - ภายใต้การพิจารณาของคณะอนุกรรมการอปสข. - มีการรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตามที่สปสช.กำหนด