พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระราชทาน คำอธิบายหลักการ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไว้ว่า “ หลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การมีปัญญา รู้จักคิด วิเคราะห์ด้วยเหตุด้วยผล อย่างถูกต้องได้ว่า อะไรคือ ความพอเหมาะพอดี และพอประมาณ สำหรับชีวิตของแต่ละคน ที่พื้นฐานต่างกัน และประพฤติปฎิบัติให้ได้ตามความพอเหมาะพอดีนั้นๆ การจะสามารถวิเคราะห์อย่างมีเหตุมีผลได้ว่า ความพอเหมาะพอดีคืออะไร เราจะต้องมีข้อมูลต่าง ๆ เพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับวิเคราะห์ก่อน ”
ทุกคนก็ต้องรู้ดีเกี่ยวกับการทำบัญชีรายจ่ายรับให้ดี ก็ต้องรู้เศรษฐกิจ แต่ที่พูดทางเศรษฐกิจ เป็นการคำนวณดูว่ารายได้ รายจ่ายเป็นยังไง รายได้จะมาก ทุกคนก็บอกว่าเรามีผลผลิตมาก ๆ เราก็รวยสิ จริงก็รวย เราขายได้มาก แต่ว่าก็ต้องจ่ายมากเหมือนกัน ถ้าเราทำปุ๋ยเองไม่ได้ รถเราสร้างเองไม่ได้ น้ำมัน เราขุดมาไม่ได้ ต้องซื้อทั้งนั้น ซื้อก็ต้องเป็นรายจ่าย ฉะนั้น ทุกคนก็ต้องรู้ดีเกี่ยวกับการทำบัญชีรายจ่ายรับให้ดี ก็ต้องรู้เศรษฐกิจ รู้บัญชีมากขึ้น แต่ถ้าเราคำนวณดูแล้ว รายได้มันมาก เรารวยเศรษฐกิจดี แต่ว่าเราจ่ายมาก เราก็จน เศรษฐกิจก็ไม่ดี อันนี้แต่ละคนจะต้องไปคิด... พระราชดำรัส : พระราชทานแก่คณะสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนม กรรมการสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนม กรรมการสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคม และสหกรณ์ประมงทั่วราชอาณาจักร วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต
ทางสายกลาง มีเหตุผล ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน ไม่มากไปไม่น้อยไป ไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น ตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผล พิจารณาจากปัจจัย อย่างรอบครอบ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี เตรียมตัวรับผลกระทบ การเปลี่ยนแปลง เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) นำสู่ ก้าวหน้าอย่างสมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน/ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม
รู้รายรับ รู้รายจ่าย รู้ต้นทุนกำไร รู้หนี้สิน รู้จักประหยัด การบัญชีกับเศรษฐกิจพอเพียง รู้รายรับ รู้รายจ่าย รู้ต้นทุนกำไร รู้หนี้สิน รู้จักประหยัด พัฒนาคุณภาพ ชีวิตที่ดี
เศรษฐกิจพอเพียง การทำบัญชี เป็นพื้นฐานสู่ การพัฒนาที่ยังยืน ทำไมต้องทำบัญชี เศรษฐกิจพอเพียง การทำบัญชี เป็นพื้นฐานของการใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน และการประกอบอาชีพให้เพียงพอในชีวิต เป็นพื้นฐานสู่ การพัฒนาที่ยังยืน
การทำบัญชี คือ การจดบันทึก ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขปัจจัยการดำรงชีวิตของเรา ในครอบครัวเรา ชุมชนของเรา และประเทศของเราจะเป็นตัวบ่งชี้ อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของชีวิตเรา เราสามารถนำข้อมูลอดีตมาบอกปัจจุบันและอนาคตของเรา
สมุดบัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือน สมุดต้นทุนประกอบอาชีพ
การบันทึกบัญชีต้นทุนอาชีพ
รายรับ – ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย – สินค้าคงเหลือ = กำไร(ขาดทุน) หลักการคำนวณต้นทุน สูตร รายรับ – ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย – สินค้าคงเหลือ = กำไร(ขาดทุน)
อาชีพ ทำน้ำผลไม้สมุนไพร ต้นทุนประกอบอาชีพ วดป. (1) รายการ (2) อาชีพ ทำน้ำผลไม้สมุนไพร ลงทุนใน ส/ท ถาวร (11) รายได้ (3) ต้นทุน/คชจ. (4) 5 ก.ย.53 ซื้อเครื่องแยกกาก 2,000 ซื้อผลไม้ 3,000 ซื้อวัตถุดิบ 1,000 ซื้อขวดบรรจุ 1,000 ค่าไฟฟ้า 500
อาชีพทำน้ำผลไม้สมุนไพร ต้นทุนประกอบอาชีพ วดป. (1) รายการ (2) อาชีพทำน้ำผลไม้สมุนไพร ลงทุนใน ส/ท ถาวร (11) รายได้ (3) ต้นทุน/คชจ. (4) 5 ก.ย.53 คิดค่าแรงตนเอง 400 6 ก.ย. 53 ขายน้ำผลไม้ 6,500 รวม 6,500 5,900 2,000
วิธีการคิดกำไร -ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การคิดรายจ่ายสินทรัพย์ถาวรเฉลี่ยต่อรอบการผลิต สูตร = อุปกรณ์/สิ่งปลูกสร้าง อายุการใช้งาน (1) ค่าเครื่องแยกกากเฉลี่ย = 2,000 = 500 x 1 = 1.36 บาท ปัดเป็น 2 4 365
การคิดต้นทุนประกอบอาชีพ ทำน้ำผลไม้สมุนไพรขาย ระหว่างวันที่ 5 ก. ย การคิดต้นทุนประกอบอาชีพ ทำน้ำผลไม้สมุนไพรขาย ระหว่างวันที่ 5 ก.ย.2553 ถึงวันที่ 5 ก.ย.2553 รายได้ - ขายน้ำผลไม้ 6,500 บาท 6,500 บาท หัก ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย - ซื้อผลไม้ต่างๆ 3,000 บาท - ซื้อวัตถุดิบ 1,000 บาท - ซื้อขวดบรรจุ 1,000 บาท - ค่าไฟฟ้าใช้ในการผลิต 500 บาท - คิดค่าแรงตนเอง/วัน 400 บาท - คิดรายจ่ายสินทรัพย์ถาวรเฉลี่ย ต่อรอบการผลิต 2 บาท 5,902 บาท หัก ขวดบรรจุคงเหลือ 206 บาท 5,696 บาท กำไร 804 บาท
ทำไมต้องทำบัญชี
สรุป รู้หนี้สิน: รู้รายรับ: ได้เงินมาจากไหน เท่าไร รู้จักออม: รู้จักประหยัด ทำให้เกิดการออม รู้หนี้สิน: วางแผนชำระหนี้ให้ทันตามกำหนด รู้ต้นทุน กำไร(ขาดทุน): ลงทุนเท่าไร ขายได้เท่าไร มีกำไรหรือไม่ รู้รายจ่าย: ใช้จ่ายค่าอะไรบ้าง เท่าไร ลดรายจ่าย ลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย รู้รายรับ: ได้เงินมาจากไหน เท่าไร
สวัสดี
ให้ทำ 1. ตั้งชื่อกลุ่ม 2. เขียนคำขวัญ 1 คำขวัญเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง เช่น “ทำบัญชีมีพอใช้มีเงินออม” 3. คิดอาชีพเอง บันทึกบัญชีต้นทุกอาชีพลงในกระดาษที่แจกให้ อย่างน้อย 1 วัน 5 รายการ 4. คิดต้นทุนอาชีพที่เลือกบันทึกบัญชี สรุปผลกำไรขาดทุน ** ใครเสร็จก่อนมีรางวัลให้ **