กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ...คืออะไร ? กิจการที่มีกระบวนการผลิต หรือ กรรมวิธีการผลิต ที่ก่อให้เกิด มลพิษ หรือ สิ่งที่ทำให้เกิดโรค มี ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย ของประชาชนที่อยู่ในบริเวณข้างเคียง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ที่ 5/2538 เรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ...มีอะไรบ้าง ? ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ที่ 5/2538 เรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (ฉบับที่ 4) 2546 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (ฉบับที่ 5) 2550 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (ฉบับที่ 6) 2552 13 หมวด / 135 ประเภทกิจการ
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ...มีอะไรบ้าง ? 13 หมวด / 135 ประเภทกิจการ กิจการที่เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ กิจการที่เกี่ยวกับสัตว์และผลิตภัณฑ์ กิจการที่เกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม น้ำดื่ม กิจการที่เกี่ยวกับยา เวชภัณฑ์ อุปกรณ์การแพทย์ เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์ชำระล้าง กิจการที่เกี่ยวกับการเกษตร กิจการที่เกี่ยวกับโลหะหรือแร่ กิจการที่เกี่ยวกับยานยนต์ เครื่องจักร หรือ เครื่องกล
กิจการที่เกี่ยวกับไม้ กิจการที่เกี่ยวกับการบริการ กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ กิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต์ หรือวัตถุที่คล้ายคลึงกัน กิจการที่เกี่ยวกับปิโตรเลี่ยม ถ่านหิน สารเคมี
กิจการฯ ?
กิจการฯ ?
ศาลปกครองกลาง หมายเลขแดงที่ 242/2550 ...แม้ผู้ถูกฟ้องคดีจะโต้แย้งว่ามิได้เลี้ยงนกพิราบเหล่านั้นก็ตาม แต่การที่บ้าน ของผู้ถูกฟ้องคดีมีเศษอาหารที่เหลือจากการเลี้ยงสุนัข อันเป็นสาเหตุให้มีนกบิน นกบินมากินเศษอาหาร ถือว่าผู้ถูกฟ้องคดีให้อาหารนกเหล่านั้นทางอ้อมอันเป็น การเลี้ยงสัตว์ให้ได้เจริญเติบโต .... (ข้อเท็จจริง : พบเศษอาหารในบ้านผู้ถูกฟ้องคดี และมีคอนพักระหว่างต้นมะม่วงกับผนังอาคาร 6-7 ท่อน มีนกพิราบเกาะบนคอนจำนวนมาก อีกทั้งเศษอาหารที่สุนัขกินเหลือมีนกพิราบจำนวนมากบินมากิน ซึ่งผู้ถูกฟ้องคดีตั้งใจให้กินในบ้าน) ศาลปกครองสูงสุด หมายเลขแดงที่ อ.351/2553 ยืนตามคำพิพากษาศาล ปกครองกลาง
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การออกข้อกำหนด ของท้องถิ่น การออกใบอนุญาต กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
(2) กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไขทั่วไป ราชการส่วนท้องถิ่นต้องออก ข้อกำหนดของท้องถิ่น (ม.32) (1) กำหนดประเภทกิจการ ที่ต้องควบคุมภายในท้องถิ่น (2) กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไขทั่วไป ขออนุญาต ต่อ จพถ. ประกอบกิจการ ในลักษณะที่ เป็นการค้า เงื่อนไขเฉพาะ ที่ จพถ. ระบุ ในใบอนุญาต ประกอบกิจการ ในลักษณะที่ ไม่เป็นการค้า ต้องปฏิบัติตาม
เมื่อพ้น 90 วัน นับแต่วันที่ข้อกำหนดท้องถิ่นมีผลใช้บังคับ (ม.33) เมื่อพ้น 90 วัน นับแต่วันที่ข้อกำหนดท้องถิ่นมีผลใช้บังคับ ผู้ใด...ประกอบกิจการที่ควบคุม... ...ในลักษณะที่เป็นการค้า... ต้องขออนุญาตก่อนประกอบกิจการ การออกใบอนุญาต จพถ.กำหนด..เงื่อนไข..ให้ผู้รับใบอนุญาตปฏิบัติ เพื่อป้องกันอันตรายต่อสุขภาพของสาธารณชน เพิ่มเติม จากที่กำหนดไว้โดยทั่วไปในข้อกำหนดของท้องถิ่นตาม ม.32 ได้
สำหรับกิจการประเภทเดียว และ สถานที่แห่งเดียวเท่านั้น (ม.33 ว.2) ใบอนุญาต ใช้ได้ สำหรับกิจการประเภทเดียว และ สถานที่แห่งเดียวเท่านั้น
คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข แบบ Check List กิจการฯ กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการ ในการควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2545 คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข แบบ Check List กิจการฯ
หลักการพิจารณา... คำขอ + หลักฐาน สมบูรณ์ คำขอ + หลักฐาน สมบูรณ์ ต้องปฏิบัติถูกต้องตาม กฎหมายอื่น ๆ นอกจาก พ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535 ต้องปฏิบัติถูกต้องตาม กฎกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการ ในการควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2545 ต้องปฏิบัติถูกต้องตาม ข้อกำหนดท้องถิ่น = เทศบัญญัติ / ข้อบัญญัติตำบล
“...สถานประกอบกิจการที่ตั้งอยู่ในเขตที่กฎหมายว่าด้วยการผังเมือง หรือ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารมีผลใช้บังคับ หรือ สถานประกอบกิจการใดที่เข้าข่ายเป็นโรงงาน หรือ มีการประกอบกิจการเกี่ยวกับวัตถุอันตราย จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องด้วยแล้วแต่กรณี” ( ข้อ 2 กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมตรการในการควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2545 )
กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับกิจการ พ.ร.บ.สาธารณสุข + ข้อกำหนดท้องถิ่น ต้องปฏิบัติถูกต้องตาม กฎหมายอื่น ๆ นอกจาก พ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535 โรงงาน ควบคุมอาคาร สถานประกอบการ ผังเมือง ..ฯลฯ.. กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับกิจการ พ.ร.บ.สาธารณสุข + ข้อกำหนดท้องถิ่น