การค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ และ การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากโฆษณา
Lesson 8 Personal Selling.
ระบบการบริหารการตลาด
หลักการตลาด บทที่ 17 การตลาดทางตรง.
Management Information System of Air Conditioner Store
Gems and Jewelry Electronic Commerce
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสื่อสารข้อมูล.
บทที่ 2 การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
รูปแบบและโครงสร้างของการประกอบธุรกิจเครือข่าย
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลัก
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ยินดีต้อนรับ. ยินดีต้อนรับ หัวข้อที่นำเสนอ วินสโตร์คือใคร? หลักการรวมศูนย์ ระบบให้บริการ กลุ่มเป้าหมาย.
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 13 การค้าส่งและการค้าปลีก (Wholesaling and Retailing)
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
การระดมทรัพยากรทางไปรษณีย์
Computer mediated communication
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Computer Application in Customer Relationship Management
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
แยกตามลักษณะผู้ใช้บริการ
ความหมาย ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
ซอฟต์แวร์.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
การออกแบบและการวางผังร้านค้า
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
บทที่ 1 บทนำ.
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยทำให้การบริการสะดวกขึ้น
Internet Service Privider
Chapter 1 แนะนำการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร ช่วยทำให้การ บริการสะดวกขึ้น.
บทที่ 5 การค้าปลีก.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
บทที่ 8 การวิจัยเชิงพรรณนา : การสำรวจ
บทที่ 9 การขายโดยบุคคล ความหมายของการขายโดยบุคคล
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
สภาพแวดล้อมของช่องทางการตลาด
ชื่อ นางสาวชื่นฤดี ไชยวงค์ โปรแกรมวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3 รหัส
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วย ให้การบริการสะดวกขึ้น จัดทำโดย ด. ญ. ชุติกาญจน์ ยี่บุญ เลขที่ 1 ม.1/12 ด. ญ. อาทิตยา มั่นหาญ เลขที่ 13 ม. 1/12.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บริการใหม่ตามใจธุรกิจ
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Ployphan Sornsuwit
บทที่ 6 การตลาดทางตรงโดย สื่อไปรษณีย์และโทรศัพท์.
บทที่ 5 ข้อเสนอ การสร้างสรรค์ จังหวะเวลา และบริการที่มอบให้กับลูกค้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ และ การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า บทที่ 3 การค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ และ การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า

การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า คือ รูปแบบของการค้าปลีกที่การขายสินค้าให้แก่ผู้บริโภคทำโดยไม่ต้องใช้ร้านค้าปลีก สามารถจัดประเภทตามรูปแบบของสื่อที่ใช้ในการสื่อสารกับลูกค้า ได้ 5 แบบประกอบด้วย การค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ การค้าปลีกทางแคตาล็อกและไปรษณีย์ทางตรง (Catalog and Direct-mail Retailing) การขายตรง (Direct Selling) การเลือกซื้อสินค้าทางโทรทัศน์ที่บ้าน (TV Home Shopping) และเครื่องจำหน่ายสินค้า (Vending Machines)

ผู้ค้าปลีกทางอินเทอร์เน็ต ลูกค้า ผู้ค้าปลีกทางอินเทอร์เน็ต สิ่งตีพิมพ์ ไปรษณีย์ ผู้ค้าปลีกทางแคตาล็อก/ ไปรษณีย์ทางตรง ลูกค้า ไปรษณีย์, โทรศัพท์ พนักงานขาย ขายแบบเผชิญหน้า ลูกค้า ผู้ค้าปลีก ขายตรง โทรทัศน์ ลูกค้า ผู้ค้าปลีก ทางโทรทัศน์ โทรศัพท์ การจัดแสดงสินค้าใน เครื่องจำหน่ายสินค้า ลูกค้า เครื่องจำหน่ายสินค้า

การค้าปลีกทางอิเลคทรอนิกส์ การค้าปลีกทางอิเลคทรอนิกส์ หรือที่เรียกว่า e-tailing หรือ การค้าปลีกทางอินเทอร์เน็ต (Internet Retailing) คือ รูปแบบของการค้าปลีกที่ผู้ค้าปลีกและลูกค้าติดต่อกันทางเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์เชิงโต้ตอบ (Interactive Electronic Network) โดยผู้ค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์จะส่งข้อมูลและรูปภาพที่ลูกค้าร้องขอจากทางคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์ หลังจากการติดต่อทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้ค้าปลีกและลูกค้า ลูกค้าสามารถสั่งซื้อสินค้าได้โดยตรงทางเครือข่ายเชิงโต้ตอบ (Interactive Network) หรือทางโทรศัพท์ จากนั้นก็จะมีการส่งสินค้าให้แก่ลูกค้าที่บ้าน

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเติบโตของการค้าปลีก ทางอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเติบโตของการค้าปลีก ทางอิเล็กทรอนิกส์ 1. ความง่ายในการที่ลูกค้าสามารถทดลองนวัตกรรมใหม่ 2. การรับรู้ถึงความเสี่ยงในการยอมรับนวัตกรรมใหม่ 3. ผลประโยชน์ของนวัตกรรมใหม่เมื่อเปรียบเทียบกับทางเลือกในปัจจุบัน ความปลอดภัย การสั่งซื้อและการได้รับสินค้า

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเติบโตของการค้าปลีก ทางอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเติบโตของการค้าปลีก ทางอิเล็กทรอนิกส์ จำนวนทางเลือก การช่วยกลั่นกรองทางเลือก : Electronic Agent, Shopping bot (Search Engines) ให้ข้อมูลข่าวสารเพื่อประเมินสินค้า ต้นทุนสินค้า

ประเภทของสินค้าที่ควรจะขายโดยผู้ค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ มองและเห็น (look-and-see) สัมผัสและรู้สึก (touch-and-feel)

ปัจจัยความสำเร็จในการค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ การมีตรายี่ห้อและภาพลักษณ์ที่แข็งแกร่ง ข้อมูลลูกค้า สินค้าและบริการสนับสนุน สินค้าที่มีเอกลักษณ์ การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการกระจายสินค้าที่มีประสิทธิภาพในการส่งสินค้าไปยังบ้านของลูกค้า

การค้าปลีกทางแคตาล็อกและไปรษณีย์ทางตรง การค้าปลีกทางแคตาล็อก คือ รูปแบบการค้าปลีกแบบไม่มีร้านที่ข้อเสนอการขายปลีกได้สื่อสารไปยังลูกค้าทางแคตาล็อก การค้าปลีกทางไปรษณีย์ทางตรง คือ รูปแบบการค้าปลีกที่ผู้ค้าปลีกสื่อสารกับลูกค้าโดยใช้จดหมายและแผ่นพับ

การค้าปลีกทางแคตาล็อกและไปรษณีย์ทางตรง ประเภทของผู้ค้าปลีกทางแคตาล็อกและไปรษณีย์ทางตรง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ผู้ค้าปลีกสินค้าทั่วไปและสินค้าเฉพาะตามแคตาล็อก ผู้ค้าปลีกไปรษณีย์ทางตรง

การขายตรง การขายตรง คือ รูปแบบการค้าปลีกที่พนักงานขายติดต่อกับลูกค้าโดยตรงในสถานที่ที่สะดวก ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งที่บ้านหรือที่ทำงาน และพนักงานขายสาธิตคุณสมบัติของสินค้า รับคำสั่งซื้อ และจัดส่งให้แก่ลูกค้า รวมถึงการขายทางโทรศัพท์ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ระบบแผนงานเลี้ยง เครือข่ายหลายชั้น

การเลือกซื้อสินค้าทางโทรทัศน์ที่บ้าน แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ ช่องเคเบิ้ลที่เป็นช่องสำหรับการเลือกซื้อทางโทรทัศน์ อินโฟเมอร์เชียล การโฆษณาที่มีการตอบสนองโดยตรง

การค้าปลีกทางเครื่องจำหน่ายสินค้า การค้าปลีกทางเครื่องจำหน่ายสินค้า คือ รูปแบบการค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้าที่สินค้าหรือบริการถูกเก็บไว้ในเครื่องจำหน่ายและเคลื่อนออกมาให้ลูกค้าเมื่อมีการใส่เงินหรือบัตรเครดิต