ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
Advertisements

น้ำหนักแสงเงา.
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
พื้นที่ผิวและปริมาตร
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
Points, Lines and Planes
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
วิชาถ่ายภาพ.
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
Quadratic Functions and Models
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลนส์นูน.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ศัพท์ทางเทคนิคกับการถ่ายทำและควบคุมกล้อง
กาแล็กซีและเอกภพ.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
การสร้างแบบเสื้อและแขน
วงรี ( Ellipse).
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ให้นักเรียนออกแบบงานนำเสนอ เรื่อง กล้องดิจิตอล D-SLR
กล้องโทรทรรศน์.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
ยูเรนัส (Uranus).
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
การใช้คอมพิวเตอร์อย่างถูกวิธี
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
ดาวเนปจูน (Neptune).
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
ดาวเสาร์ (Saturn).
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
เทคนิคการปรับกล้อง.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร 423146-0 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร 423146-0 2. นางสาวรัชฎาภรณ์ ทรัพย์เรืองเนตร 423171-2 3. นางสาววนิดา วะชุม 423174-5 4. นายอนุชา โสมาบุตร 423192-8

5.1 ขนาดภาพ ขนาดของภาพในกล้องถ่ายรูปขึ้นอยู่กับค่า v , u และ f ดังนี้ ใน คล้ายสองรูป รูปที่ 1 ส่วนประกอบที่ทำให้เกิดภาพ ดังนั้น I / O = v/u ซึ่ง I = O *(v/u) ……………..(1) f O I u v

เมื่อ m คือกำลังขยายของภาพที่เกิดบนฟิล์ม ถ้าวัตถุอยู่ไกล ภาพจะเกิดระหว่างจุดโฟกัสของเลนส์ (ยกเว้นวัตถุอยู่ใกล้)หรืออาจจะมีค่ามากกว่าเล็กน้อยซึ่งอาจถือได้ว่า f เกือบเท่ากับ v I = o *(f/u) ………………….(2) หรือ I/O = f/u นั่นคือ m = f/u …………………(3) เมื่อ m คือกำลังขยายของภาพที่เกิดบนฟิล์ม

5.2. ความยาวโฟกัสของเลนส์และมุมภาพ (Focal length and Angle of view) ความยาวโฟกัสของเลนส์เป็นส่วนประกอบอีกประการหนึ่งที่ทำให้ได้ภาพมีกำลังขยาย ถ้ารู้ขนาดของฟิล์มที่ใช้, ความยาวโฟกัสของเลนส์ ก็สามารถหามุมภาพ (Angle of view) มุมภาพโดยทั่วไปเหมือนกับมุม A ซึ่งประกอบด้วยเส้น AB และ AC เมื่อ AF เป็นความยาวโฟกัสของเลนส์ และBC เป็นเส้นทะแยงมุมของเนกาตีฟ B F C f A

มุมภาพ อาจหาได้จากตารางต่อไปนี้ มุมภาพ อาจหาได้จากตารางต่อไปนี้ เส้นทะแยงมุม มุมภาพ เส้นทะแยงมุม มุมภาพ ความยาวโฟกัส (องศา) ความยาวโฟกัส (องศา) 0.35 20 1.27 65 0.44 25 1.40 70 0.54 30 1.53 75 0.63 35 1.68 80 0.73 40 1.83 85 0.83 45 2.00 90 0.93 50 2.38 100 1.04 55 2.86 110 1.15 60 3.46 120

5.3.Covering power of a lens เลนส์ฉายทุกเลนส์จะฉายแสงออกมาปรากฏที่จอเป็นรูปวงกลม เรียกว่า วงกลมแห่งความส่องสว่าง (Circle of illumination) ความสว่างตรงขอบนอกจะมีความเข้มน้อยกว่าบริเวณตรงกลาง ดังนั้นในการที่จะนำเลนส์ไปทำเป็นเลนส์กล้องถ่ายรูป หรือนำไปใช้เป็นเครื่องฉาย จึงนิยมที่จะคัดบริเวณขอบออกโดย หาส่วนบังแสงไม่ให้ปรากฏบนจอ คงให้เกิดภาพเฉพาะบริเวณ ที่มีความเข้มพอดี ซึ่ง เรียกว่า circle of good definition

The convering power of a lens

5.4 เลนส์นอร์มอล (Normal focus lens) เลนส์ที่มีความยาวโฟกัสเท่ากับความยาวของเส้นทะแยงมุมของฟิล์มที่ใช้ ความยาวโฟกัสของเลนส์ชนิดนี้ เรียกว่า ความยาวโฟกัสปกติ (normal focus length) เลนส์จะมีมุมภาพ 53 องศา ซึ่งมีมุมภาพพอๆ กับมุมภาพของดวงตาคนเราในขณะที่ไม่ส่ายศรีษะไปมา

5. เลนส์มุมกว้าง (Wide angle lens)

เลนส์ความยาวโฟกัสยาว เลนส์ที่สร้างขึ้นเพื่อให้ความยาวโฟกัสของเลนส์ยาวกว่าเส้นทแยงมุมของฟิล์มที่ใช้ เลนส์ชนิดนี้มีมุมภาพประมาณ 30 องศา ใช้ในการถ่ายที่เราเจาะจงให้ได้ภาพวัตถุใดวัตถุหนึ่งชัดเจนโดยเฉพาะ เลนส์นี้สร้างขึ้นเพื่อต้องการถ่ายรูปคน (portraits) หรือถ่ายภาพเพื่อทำหนังสือแคตตาลอกขายสินค้า เลนส์ชนิดนี้เรารู้ในชื่อว่า เลนส์ถ่ายไกล (Telephoto lens)

5.7 ความลึก( Depth ) ในแง่ของการถ่ายรูปความลึกที่จะกล่าวถืงเราคำนึงถึง ระนาบ 2 ระนาบคือ ก.ระนาบที่ฟิล์มบรรจุอยู่ในกล้อง ข.ระนาบของวัตถุที่จะถ่ายตั้งอยู่ ความคมชัดของภาพที่ได้รับจากการถ่ายรูปซึ่งเกิดจาก ระนาบ 2 ระนาบนี้ ส่วนใหญ่เราทราบอยู่ในรูปของความ ชัดลึกของโฟกัส และความชัดลึกดังจะกล่าวถึงรายระเอียด ต่อไป

5.7.1.Circle of confusion คือ วงกลมภาพบนฟิล์มหรือกระดาษอัดรูปที่ เกิดจากเลนส์ของจุดซึ่งห่างจากกล้องถ่ายรูปใกล้ หรือไกลกว่าระยะที่กล้องปรับชัด 5.7.2 ความชัดลึกของโฟกัส(Depth of focus) คือ ระยะทางที่ฟิล์มอาจจะเลื่อนได้ก่อนที่ภาพ จะชัด

แสดงความลึกของโฟกัส

5.7.3 ความชัดลึก(Depth of field) คือ ช่วงระยะของวัตถุปรากฏที่ยังทำให้ได้ภาพชัด

แฟคเตอร์ที่มีผลต่อความชัดลึก ก.ขนาดของรูรับแสงขนาดของรูรับแสงมีอิทธิพลต่อ ความชัดลึกมาก ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางของCircle of confusion ขึ้นอยู่กับขนาดมุมของรังสีที่ผ่านเลนส์ไปเกิดภาพ มุมของรังสีนอกสุดจะมีค่ามาก ดังนั้น Circle of confusion ก็จะมีค่ามากด้วย เมื่อเราเปิดรูรับแสงเล็กลงเราตัดรังสีทาง ด้านริมเลนส์ออกคงเหลือเฉพาะรังสีใกล้แกนที่ขนานแกน เลนส์หรือเกือบจะขนาน ทำให้ Circle of confusion เป็นขนาดที่ยอมรับว่าชัดมากขึ้น

ข.ระยะทางระหว่างกล้องกับวัตถุ ความชัดลึกจะมีค่ามากเมื่อถ่ายรูปไกล ๆ ถ้าถ่ายวัตถุใกล้ ๆ ความสัมพันธ์ของแสงสะท้อนจากวัตถุ จะไม่ขนานกับแกนเลนส์ทำให้ได้

d= เส้นผ่าศูนย์กลางของรูรับแสงที่ใช้

5.7.6 สเกลความชัดลึก (Depth of field scale ) 5.7.5 ความสัมพันระหว่างระยะไฮเปอร์โฟกัสและความชัดลึก สูตรที่แสดงความสัมพันธืมีดังนี้ ถ้าให้ Dn เป็นระยะจากกล้องถึงจุดใกล้สุดของความชัดลึก และ Df เป็นระยะจากกล้องถึงจุดไกลสุดของความชัดลึก Dn = h*u/h+u (5.17) Df = h*u/h-u (5.18) ดังนั้น ระยะความชัดลึก =Df – Dn (5.19)  5.7.6 สเกลความชัดลึก (Depth of field scale ) ในกล้องถ่ายรูปบางชนิดจะมีสเกลบอกความชัดลึก เพื่อความสะดวกจะได้กะระยะที่ชัดได้อย่างหยาบ ๆ มีเป็นแบบเส้นตรง หรือแบบจานหมุน