การอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณี ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า และวัฒนธรรม ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล
เข้าใจและปฏิบัติเพื่ออนุรักษ์ ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เข้าใจและปฏิบัติเพื่ออนุรักษ์ ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ ของท้องถิ่นและของชาติ
ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้ของชาวบ้าน - ประสบการณ์ - สติปัญญา - ความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ
การสืบสานภูมิปัญญา 1. การอนุรักษ์ 2. การพัฒนา 3. การฟื้นฟู
4. การประยุกต์ 5. การสร้างใหม่
ระดับภูมิปัญญา ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. ภูมิปัญญาชาติ 3. ภูมิปัญญาสากล
องค์ประกอบของภูมิปัญญา 1. มีความจำเพาะกับท้องถิ่น 2. มีความเชื่อมโยงหรือบูรณาการ 3. มีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้ โดยถ่ายทอดสืบต่อๆกันมา
4. มีการจัดการ 5. มีพื้นฐานความรู้ 6. มีลักษณะเฉพาะ 7. มีการเปลี่ยนแปลง
เอกลักษณ์ของชาติ ภาษาไทย นาฏศิลป์ อาหารไทย มวยไทย ดนตรีไทย
ภูมิปัญญากับความสัมพันธ์ สมาชิกในครอบครัว ธรรมชาติ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ (ความเชื่อ) บุคคลในสังคม บรรพบุรุษ
แนวทางในการอนุรักษ์ 1. การค้นคว้าวิจัย ศึกษา เก็บข้อมูล 2. การอนุรักษ์ รักษาความรู้ที่ดีงาม 3. การฟื้นฟู รื้อฟื้น ที่สูญหายไป
4. การพัฒนา สร้างสรรค์ตอบ สนองความต้องการ 5. ประยุกต์ ปรับความรู้เก่ากับ ความรู้ใหม่ 6. การสร้างใหม่ คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ
สิ่งที่เปลี่ยนแปลง ………1………. ผลที่เกิดขึ้น ……2……… มีการสืบทอด ต่อไปในอนาคต…2.2… ถ้าไม่มีการ สืบทอดต่อไป ในอนาคต..2.1… วิธีประยุกต์ใช้ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น…4… วิธีฟื้นฟูภูมิปัญญา ท้องถิ่น……3…….
แนวทางการปฏิบัติสืบทอด ภูมิปัญญา 1. การถ่ายทอด 2. เผยแพร่และแลกเปลี่ยน
การสืบทอดภูมิปัญญา การปฏิบัติในชีวิตประจำวัน (วิถีชีวิต) 2. การศึกษาเล่าเรียน 3. การรับความรู้จากสังคม ภายนอก