ENL 3701 Unit 2 การอ่านคืออะไร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การพูด.
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
ลีลาการเรียนรู้ Learning Style.
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
ภาพลักษณ์และกระบวนการสื่อสารภาพลักษณ์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา (CIPPA Model)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การเขียนโครงร่างการวิจัย
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
แนวทางการก้าวสู่การเป็น
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
ทฤษฎีการสร้างความรู้
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อดุลย์ พลพิชัย ศึกษานิเทศก์ สพป.สฎ.3
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
ครั้งที่ ๒.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การเขียน.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกิจกรรมบำบัด ในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
องค์ประกอบของวรรณคดี
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๓ ENL 3701
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การใช้ทักษะในการพูด ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด ผู้พูด สื่อ สาร
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
ENL 3701 Unit 7 ปัญหาการอ่านในระยะเริ่ม เรียน. ลักษณะการอ่านเบื้องต้น หรือระยะเริ่มเรียน Beginning Reading (in English) Beginners in Reading – นักเรียนในชั้น.
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
ENL 3701 เนื้อหา ๑ ภาษาคืออะไร.
หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ENL 3701 Unit 2 การอ่านคืออะไร หัวข้อการเรียน

การอ่านคืออะไร ๑. คำจำกัดความของการอ่าน ๑. คำจำกัดความของการอ่าน ๒. ธรรมชาติและกระบวนการของการอ่านในระยะเริ่มเรียน ๓. การอ่านออกเสียงและการอ่านในใจ ๔. ปัญหาการอ่านในระยะเริ่มเรียน

๑. คำจำกัดความของการอ่าน ๑. คำจำกัดความของการอ่าน กลุ่มที่ ๑ มองการอ่านโดยอาศัยพื้นฐานของกระบวนการถอดรหัสภาษา (A Decoding Process) กลุ่มที่ ๒ มองการอ่านเป็นการค้นหาความหมาย (Reading for Meaning)

กลุ่มที่ ๑ Reading as a Decoding Process คำนิยามของการอ่านตามแนวพจนานุกรมของสมาคมการอ่านนานาชาติ (International Reading Association) ๑. เน้นลักษณะเฉพาะในกระบวนการของการอ่านเกี่ยวกับ Psychomotor การใช้อวัยวะเคลื่อนไหว Cognitive กระบวนการทางสมอง Affective ภาวะทางจิต

ลำดับขั้นของกระบวนการอ่านการอ่านตามแนว Decoding Process ๑. การรับรู้สัญลักษณ์ตัวเขียนของภาษา + เสียงภาษา ๒. การรับรู้และเข้าใจภาษาพูด (Oral Message) และ ภาษาเขียน (Written Message) ๓. กระบวนการปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง ประสบการณ์ คำศัพท์ และไวยากรณ์ (Experience+Vocabulary+Grammar)

กระบวนการปฏิสัมพันธ์ Interaction ผู้อ่าน กับ Materials Experience Intellectual, Physical, Reasoning

กลุ่มที่ ๒ Reading for Meaning การอ่านคือการหาเหตุผล (Reasoning) การอ่านคือการเรียนรู้ การคิดเป็นศูนย์กลาง(Learning, Thinking) การอ่านเป็นการสุ่มตัวอย่าง การคัดเลือก การทำนาย การเปรียบเทียบและการยืนยันซึ่งอาศัย ตัวชี้แนะ (Clues)

Reading as a Social Process ประสบการณ์รอง (Vicarious Experiences ) ช่วยให้เข้าใจสิ่งแวดล้อม มีเงื่อนไขต่อการเชื่อมโยงทางสังคม

การอ่านเป็นกระบวนการพหุมิติ (Multi-dimension) เป็นการทำความเข้าใจความหมายตามตัวอักษร ความรู้สึก ความหมายแฝงจากผู้เขียน ในน้ำเสียง ในความจงใจ และในเจตคติ ต่อผู้อ่าน และตัวผู้เขียน

คำนิยามจากที่อื่น เช่น Walcutt, Lamport, McCraken การอ่านเป็นกิจกรรมทางปัญญา เพื่อพัฒนาชีวิต ความเจริญงอกงาม ทางกาย สติปัญญา การรับรู้ และจิตวิญญาณ

การเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์ คำนิยามของ Dechant หมายถึง การรับรู้ การเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์

ความหมายของการอ่าน ตาม Lapp & Flood ๑. การรับรู้และจดจำตัวอักษรและคำ (Letter & word perception/recognition) ๒. การทำความเข้าใจแนวความคิด จากคำภาษาเขียน (Comprehension of the concepts) ๓. การแสดงปฏิกิริยา (Reaction) และการซึมซับ (Assimilation) ความรู้ใหม่จากพื้นฐานประสบการณ์เดิมของผู้อ่าน

๒. ธรรมชาติและกระบวนการอ่าน ในระยะเริ่มเรียน จุดเน้น การใช้สายตา (Eye Movement) Fixations - real reading activity Regression การอ่านย้อนกลับ Mental Process: – Eye-Brain connections

ตัวแบบการอ่านในระยะเริ่มเรียน ๑. The Gray-Robinson Reading Model ๑. การรับรู้คำ (Word perception) ๒. ความเข้าใจการอ่าน (Comprehension) ๓. การแสดงปฏิกิริยาต่อเรื่องที่อ่าน (Reaction) ๔. การซึมซับในการอ่าน (Assimilation) ๕. อัตราความเร็วในการอ่าน (Rate of Reading)

The Psycholinguistic Model Professor K. Goodman เป็นต้นคิดรูปแบบ การอ่านเป็นเกมการเดาทางจิตภาษาศาสตร์ การอ่านต้องอาศัยตัวชี้แนะ (Clues) ภายในคำ ภายในภาษาหรือเนื้อเรื่อง จากผู้อ่านเอง จากภายนอก

แนวคิดเกี่ยวกับการอ่าน ตามแนวตัวแบบทางจิตภาษาศาสตร์ ๑. การอ่านมิใช่กระบวนการที่ตายตัวหรือแน่นอน ๒. การอ่านเป็นกระบวนการที่มีความหมายเป็นศูนย์กลาง ๓. บริบทเป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุดสำหรับการอ่าน ๔. ความชำนาญทางภาษาจะเพิ่มทักษะการอ่าน

The Information Processing Model ลำดับขั้นของการอ่าน ๑. การรับภาพ (Visual Impact) ๒. การรับรู้ภาพที่มองเห็น (Recognition of Input) ๓. ภาพลักษณ์ไอโคนิต (Iconic Image) ๔. ความจำชั่วคราวในสมอง (Temporary Memory) ๔. ความจำถาวร (Permanent Memory)

การอ่านออกสียงและการอ่านในใจ การอ่านออกเสียง (Oral Reading) พฤติกรรม –การใช้ประสาทสัมผัสหลายอย่างในขณะอ่านออกเสียง จุดมุ่งหมายสำคัญ---ความสามารถในการสื่อความหมายในทางความคิดของผู้เขียนไปยังผู้ฟังได้อย่างชัดเจน

ประโยชน์ของการอ่านออกเสียง ๑. ด้านการศึกษา บทประพันธ์ บทละคร เครื่องมือตรวจสอบข้อบกพร่องของผู้อ่าน ๒. ด้านสังคม กิจกรรมการสื่อสารสำหรับมวลชน

การปรับปรุงการอ่านออกเสียง ๑. การเรียนรู้การออกเสียงแต่ลำอย่างถูกต้อง ๒. รู้วิธีการบังคับเสียงในระดับที่เหมาะสม ๓. ความสามารถในการสื่อความหมายที่แท้จริง ๔. การควบคุมการทรงตัวและการสัมผัสสายตากับผู้ฟัง ๕. การควบคุมการใช้เสียง---ความไพเราะ ความดังชัดเจน ให้พอเหมาะกับขนาดผู้ฟัง

การอ่านในใจ (Silent Reading) พฤติกรรมการอ่าน เป็นกระบวนการที่เกิดก่อนการอ่านออกเสียง ด้านการรับรู้คำและการเข้าใจความหมาย ไม่มีการเปล่งเสียงใดๆทั้งสิ้น จุดประสงค์ของการอ่าน การรับรู้และแปลความหมายจากภาษาเขียนให้แก่ตัวเอง ความแตกต่างระหว่างการอ่านออกเสียงและการอ่านในใจ

ปัญหาการอ่านในระยะเริ่มเรียน ๑. การใช้ความคิดเพื่อให้เกิดความเข้าใจเป็นหน่วย (Conceptualization) ๒. การเรียนรู้ภาษา (Language Acquisition) ๓. การใช้กลไกทางร่างกายด้านประสามสัมผัสและการรับรู้ต่างๆ (Eye-hand Coordination) การควบคุมอารมณ์และความสนใจ