CoP คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล วราพร แสงสมพร 060726.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ประสบการณ์และวิธีการจัดการความรู้ ในงานบริการพยาบาล
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
KM AAR.
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO )
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
Benchmarking.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การจัดการความรู้ทางการแพทย์ ในโรงพยาบาลราชวิถี
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
สรุปผลงานทีมผู้ป่วยนอก พฤศจิกายน 49. PSO ทีมผู้ป่วยนอก พ. ย.49.
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
ประมวลภาพกิจกรรม โครงการ การจัดการความรู้กรม อนามัย ปี 2548 ประมวลภาพกิจกรรม โครงการ การจัดการความรู้กรม อนามัย ปี 2548.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CoP คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล วราพร แสงสมพร

Methods of Implementing CoPs Provide a framework for establishing CoPs Registration of CoPs Provide support : concept, time, IT Facilitate K sharing K assets and K utilization

Components of a CoP 1. Community Facilitator ▪ Expert ▪ Practitioner Historian IT Admin 1. Community Facilitator ▪ Expert ▪ Practitioner Historian IT Admin 2. Domain 3. Working knowledge

Sponser จัดให้มีข้อตกลงเป้าหมายร่วมของการจัดการ ความรู้ในองค์กร จัดให้มีข้อตกลงยุทธศาสตร์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สนับสนุนทรัพยากร จัดหา และสนับสนุนการใช้ IT สื่อสารเพื่อกระตุ้น จัดให้มีการร่วมประเมินความก้าวหน้า

Core Team ก่อน เชื่อมโยงเป้าหมายระหว่างผู้บริหาร กับ กลุ่ม วางแผนกระบวนการ ตกลงเกณฑ์ กติกา จัดเวทีให้แบ่งปันแลกเปลี่ยน ระหว่าง สร้างบรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลัง ติดตามประเมินจากการนำไปใช้ เชื่อมโยง KM ภายใน /ภายนอก

Facilitator จุดประกายความคิด สร้างความกระตือรือร้น ตกลงเป้าหมาย สื่อสารให้ชัดเจน กำหนดกติกา ควบคุมประเด็นและเวลา พูดนำกลุ่ม เปิดคำถามเพื่อกระตุ้นความคิด และโยงประเด็น ให้ Practitioner ได้ดูดซับความรู้จากแหล่งที่มีความรู้ที่ดี และเกิด ความคิดสร้างสรรค์เพื่อบรรลุเป้าหมาย ทบทวนเนื้อหาเป็นระยะๆ สรุปประเด็นร่วม ผลักดันให้เกิดการนำไปปฏิบัติ และนำกลับมาแลกเปลี่ยนอีกใน ครั้งต่อไป

Practitioner เป็นเจ้าของกิจกรรมจัดการความรู้ร่วมกัน และร่วมกัน ดำเนินการจัดการความรู้ให้บรรลุเป้าหมาย เป็นผู้ดำเนินการจัดการความรู้ คือร่วมค้นหา เสาะหา ความรู้ นำมาประยุกต์ใช้ในงาน เมื่อได้ความรู้ใหม่จด บันทึก นำเสนอ เพื่อให้เกิดกระบวนการตีความ ยกระดับความรู้ความเข้าใจขึ้นไปอีก

Historian บันทึกเรื่องเล่า ขุมความรู้เพื่อบรรลุเป้าหมายแต่ ละชิ้น แก่นความรู้ เพื่อบรรลุผลสัมฤทธิ์ของงาน แต่ละชิ้น

IT Admin บริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ เพื่อให้เกิด การจัดเก็บที่ค้นหาง่าย การแลกเปลี่ยนความรู้ การติดต่อเชื่อมโยงความรู้ในตัวบุคคล

Socialization Externalization InternalizationCombination Nonaka’s Knowledge Spiral Tacit Knowledge Explicit Knowledge Explicit K.Tacit K.

IT Blueprint

KM web site Best practice Members Admin Content Story/Report Project/Topic communication Storage & distribution Management Sharing builds strong COPs Management team Chat rooms Web boards VDO con Web blogs News COP members Users

CoPs Establishment Prioritize knowledge needs Leaders’ roles and responsibilities Register community membership Plan and schedule community activities Coordinate core group, facilitator, historian, IT Facilitate knowledge sharing process

บทบาทหน้าที่ความ รับผิดชอบ Facilitator Historian Admin Historian Facilitator

Domain : การบริหารยาฉีดในผู้ป่วยเด็ก Desired state: ยกระดับการให้ยาโดยทำให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด

Context Scoring Guideline Critical Issues Experience Sharing Concept Application ประเด็นสำคัญคืออะไร การพัฒนาส่วนใหญ่ติดอยู่ตรงขั้นตอนไหน อยากรู้เรื่องอะไร แลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวคิด / หลักการสำคัญ ( ขุมทรัพย์ความรู้ ) ประยุกต์ใช้ การสร้างขุมทรัพย์ความรู้ ของอ. อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีจริง

แลกเปลี่ยนข้อมูล เคล็ดลับ แนวทางแก้ปัญหา และหาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ

ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการแก้ไขปัญหา และตอบคำถาม

ผู้เชี่ยวชาญในด้านสถิติ มาให้ความรู้ และร่วมกันสร้างงานที่เข้ากับบริบท : six sigma เพื่อพัฒนาการดูแลผิวหนังผู้ป่วย ที่มีปัญหาในการควบคุมการขับถ่าย

peer assist

After Action Review

สรุปบทเรียน

วงจรการเรียนรู้ของ สมาชิก COP Learning ประยุกต์ใช้ความรู้ นำความรู้ใหม่ป้อนกลับ งานในหน่วยงาน COP meeting

กำหนดการทำกิจกรรม เดือนละ 2 ครั้ง ทุกวันอังคารที่ 1 และ 3 ของ เดือน เวลา – น.

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีเสมือน

IT Training for Admin

จาก CoP Discharge Planning

CoP ให้อะไร

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีเสมือน

ความภาคภูมิใจของ CoP. การจัด Position เพื่อบรรเทาความ เจ็บปวด ในผู้ป่วยทำหัตถการ Laparoscopic Surgery โครงการ การยืดอย่างมีสติแนวปฏิบัติใหม่

นวัตกรรมนำเสนอในการประชุม The Asian Society of Stomal rehabilitation ที่ Singapore

7 th HA National Forum นวัตกรรม ตามรอย และวัดผลคุณภาพ มีนาคม 2549 ทีมสร้างเสริมสุขภาพใจทีม Tongue tie ทีม Dyspepsia ผู้สนใจเข้าฟัง

ตัวชี้วัด

Incontinent Skin Care Guideline

Failure Mode & Effect Analysis (FMEA)

CoP ที่รับขึ้นทะเบียน 1.CQI 2.care team 3.Internal Surveyor 4.Medication Safety 5. พยาบาลวิสัญญี 6.DrugsAdministration 7.Patient Identification 8.Nursing Document 9.Pain Management 10.Surgical Instrument Management 11.Patient Satisfaction 12.Pre-operative Management 13.Discharge Planning 14.Nursing Research 15.Wound and Ostomy 16.CPR 17.UM 18.x- Ray worker 19. การเลี้ยงลูกด้วยนม 20. การบริหารการพยาบาล 21. รังสีวิทยาหลอดเลือด 22. การให้ความรู้ทางทันตก รรม 23. จัดซื้อจัดจ้างอย่างไรให้ไร้ ปัญหา 24. การจัดการเอกสารใน ระบบ IT 25.CoP of CoP 26. งานวิสัญญีศิริราช 27. งานสื่อสาร 28. โครงการหุ่นสวยมาช่วย ลด 29. การจัดการโรคเบาหวาน

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้บริหารให้การสนับสนุน และเปิดโอกาสให้สมาชิกนำแนว ปฏิบัติไปใช้ในหน่วยงาน ทีมแกนหลักมีความเข้าใจและมี Passion ร่วมกัน Facilitator มีกลยุทธ์และทักษะในการสร้างสัมพันธภาพ ที่ดี ความเปิดเผยและความไว้วางใจระหว่างกลุ่ม สมาชิกที่มีประสบการณ์มาก มีทัศนคติที่ดี มีความเต็มใจ และมีเทคนิคการนำเสนอที่น่าสนใจ

สวัสดีค่ะ