Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน

Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เอกสารเคมี Chemistry Literature
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
ผลของระบบการเลี้ยง เพศ
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
(quantitative genetics)
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
Comparison of efficacies of different probiotics for broiler chickens
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
What is the optimum stocking rate ?
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นำเสนอเรื่อง ก๊าซชีวภาพจากมูลสุกร
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
การใช้ Ultassound ในการประเมิณคุณภาพซากขณะมีชีวิตในโคเนื้อ
โดย นายณรงค์ชัย มั่นศักดิ์
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 49/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษประเภทการเลี้ยงสุกร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 24 พฤศจิกายน 2554.
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
Wean-to-Finish (WTF) System
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
Nipah virus.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
การฝึกงานสัตวศาสตร์ 3.
ปลาหางนกยูง.
Effect of Protein Level on Performance and Carcass Quality of Crossbred Pigs (50% Large White X 50% Wild Boar) อินทร์ ศาลางาม วัชรพงษ์ วัฒนกูล ธีระพล.
อีเอ็มกับการทำคลอดสุกร
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 2 พันธุ์สุกร.
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken Wuttigrai Boonkum, Ph.D Http://ags.kku.ac.th/elearning/137451

How to need data ? To evaluate farm efficiency To plan farm management To plan the marketing To plan breeding improvement

Pig breeds Landrace Duroc or Duroc Jersey Large White or Yorkshire Berkshire Pietrain (Black-White spotted) Hampshire Meishan

Pig genetic improvement GGP GP PS Commercial (เน้นผลิตสุกรขุน 3 สาย) Multipier (เน้นผลิตสุกร 2 สาย) Base genetic (เน้นผลิตพันธุ์แท้)

Pig genetic improvement สุกรเพศผู้ อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวัน = น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น (กรัม) / จำนวนวันที่เลี้ยง ประสิทธิภาพการใช้อาหาร = ปริมาณอาหารที่กิน (กก.) / น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น (กก.) ความหนาไขมันสันหลัง พื้นที่หน้าตัดเนื้อสัน การลดกลิ่น ไส้เลื่อน-ทองแดง สุกรสาว อายุเมื่อแม่สุกรเป็นสัดครั้งแรก (วัน) อายุเมื่อแม่สุกรผสมพันธุ์ครั้งแรก (วัน) จำนวนวันผสมพันธุ์ครั้งแรก ถึง ผสมติด (สุกรสาว) อายุเมื่อแม่สุกรให้ลูกครอกแรก

Pig genetic improvement สุกรแม่พันธุ์ จำนวนลูกแรกเกิดทั้งหมด จำนวนลูกแรกเกิดมีชีวิต จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปี = จำนวนลูกหย่านม x 365 / ช่วงระหว่างการคลอด เปอร์เซ็นต์เลี้ยงรอด = จำนวนลูกหย่านม / จำนวนลูกแรกเกิด ลักษณะสำคัญอื่นๆ Litter size (Birth + Wean) Weight at 90 to 100 kgs. Mothering ability - Litter size, %mortality, behavior - Pre-weaning mortality

Pig genetic improvement TST = terminal sire index (เน้นคัดพ่อพันธุ์) - เน้นคัดลักษณะการเจริญเติบโต (ดูทุ้ย) (ADG, FCR) - คุณภาพซาก (back fat, loin eye area, carcass) - Longissimus dorsi area MLI = Maternal line Index (เน้นคัดสุกรสาว) - เน้นคัดลักษณะการเจริญเติบโตและระบบสืบพันธุ์ SPI = Sow productivity Index (เน้นคัดสุกรแม่พันธุ์) - เน้นคัดระบบสืบพันธุ์

Chicken genetic improvement ไก่เนื้อ ไก่ไข่ ไก่พื้นเมือง

Chicken genetic improvement ประดู่หางดำ

Chicken genetic improvement ไก่เหลืองหางขาว ไก่ชี

Chicken genetic improvement ไก่แดง

Chicken genetic improvement สายพันธุ์ไก่พื้นเมืองลูกผสม ที่ มข. พัฒนาพันธุ์ขึ้นมา ไก่พื้นเมือง และไก่พื้นเมืองลูกผสม เน้นคัดเลือก ลักษณะการเจริญเติบโต และปริมาณผลผลิตไข่

Chicken genetic improvement ไก่ไข่ (Laying hen) น้ำหนักตัวแม่ไก่ ปริมาณไข่ น้ำหนักไข่ อาหารที่กิน จำนวนแม่ไก่ตาย/พิการ การวัดประสิทธิภาพการผลิตไข่ Hen-house egg production (HH) = จำนวนไข่ / จำนวนแม่ไก่ทั้งหมดที่นำเข้าเลี้ยง Hen-day (HD) = จำนวนไข่ในช่วงเวลาที่กำหนด / จำนวนแม่ไก่มีชีวิตที่ให้ไข่ในช่วงเวลานั้น Viability อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม = จำนวนอาหารที่ใช้เลี้ยง / น้ำหนักไข่รวม ทั้งหมด การวัดประสิทธิภาพระบบสืบพันธุ์ Age of first egg (AFE) อัตราการฟัก

Chicken genetic improvement ไก่เนื้อ น้ำหนักตัว อาหารที่กิน จำนวนวันที่เลี้ยง อัตราการตาย/พิการ การวัดประสิทธิภาพการผลิต อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวัน = น้ำหนักที่เพิ่ม / จำนวนวันที่เลี้ยง ประสิทธิภาพการใช้อาหาร = ปริมาณอาหารที่กิน / น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น ไขมันสะสม (บอกประสิทธิภาพของคุณภาพซาก) การวัดประสิทธิภาพระบบสืบพันธุ์ 1. อายุเมื่อให้ไข่ฟองแรก (AFE) (ฟอง) 2. อัตราการฟัก (%)

Homework สืบค้นข้อมูลในสุกร และไก่ (ทุกชนิด) ว่าในปัจจุบัน มีลักษณะใดที่ ทำการคัดเลือกอยู่ในปัจจุบันนี้ ให้ทำรายบุคคล ห้ามซ้ำลักษณะกัน เลือกมาอย่างละ 1 ลักษณะใน สัตว์แต่ละชนิด ส่งคำตอบมาที่ “กระดานคำถาม” ของ e-learning รายวิชานี้ โดยในส่วนของผู้ส่งให้ระบุเฉพาะ รหัสนักศึกษาเท่านั้น อาจารย์จะตรวจและให้คะแนนภายในวันที่ 4 ธันวาคม 2555 เวลา 12.00 น. หากพ้นกำหนด แม้จะส่งคำตอบมาจะถือว่าขาดส่งงาน