“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานคอมพิวเตอร์.
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )

การทดสอบหาปริมาณแคลเซียมในน้ำดื่ม
ผู้จัดทำ เสนอ ดร.สุมน คณานิตย์
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
เรื่องการทดลองน้ำยาล้างจาน
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
การปลูกพืชกลับหัว.
ลักษณะทางกายภาพของ DTP, DTP- HepB Vaccine ที่บ่งบอกว่าวัคซีนอาจ เสื่อมคุณภาพ ลักษณะปกติ  ส่วนใหญ่ลักษณะ ตะกอนเบาเหมือนวุ้น สีขาว อาจมีตะกอนที่ มีลักษณะค่อนข้าง.
การบริหารยาทางฝอยละออง
สภาพน้ำทิ้งของโรงงานผลิตอาหาร ประเภทข้าวเกรียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป ภายหลังเติมน้ำสกัด ชีวภาพ BE.
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
ชุดทดสอบไฮโดรควิโนนในเครื่องสำอาง
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
เคล็ดลับ.....ถนอมเห็ดฟางให้กินได้นาน
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
กิจกรรมเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์คุณภาพดิน
อุปกรณ์และขั้นตอนการทำขนมจีนสมุนไพร
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
: ชุดทดสอบสารกำจัดแมลง กลุ่มไพรีทรอยด์
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
การชั่งและตวง ครูปนัดดา เปียถนอม.
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
กิจกรรมพื้นฐานทางเคมี
เรื่อง วุ้นสายรุ้ง จัดทำโดย นางสาว ผการัตน์ มาคง เลขที่ 12
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ห้องมืด(Dark Room) ห้องที่ใช้ในการทำงานทาง photoใช้สำหรับ การล้างฟิล์ม และอัดขยายภาพห้องมืดใช้ป้องกันแสงเข้าไป ห้องมืด แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ห้อง มืดสำหรับล้างฟิล์ม.
บทที่ 6 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับอาหาร และเครื่องดื่ม
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
การทำยางก้อนถ้วย.
โครงงานวิทยาศาสตร์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)” การตรวจสอบ ธาตุอาหารพืชในดิน “เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)” โดยเกษตรกร

ความเป็นกรด-ด่าง (pH) แอมโมเนียม ขั้นตอนการตรวจสอบดิน ไนเตรต เตรียมตัวอย่างดิน ฟอสฟอรัส สกัดธาตุอาหารพืช โพแทสเซียม ตรวจสอบ ตรวจสอบ ไนโตรเจน เอ็น : N ฟอสฟอรัส พี : P โพแทสเซียม เค : K ความเป็นกรด-ด่าง หรือค่าพีเอช (pH) ดินนา ดินไร่ แอมโมเนียม ไนเตรต ความเป็นกรด-ด่าง (pH)

ชุดตรวจสอบธาตุอาหารพืชในดิน

ช้อนตักดิน ช้อนตัก ‘ผง’ กระบอก สำหรับ น้ำยาสกัด 20 มล. น้ำยา เบอร์ 8 2.0 มล. N และ P 2.5 มล. K 0.8 มล. หลอดแก้ว

แถบสีมาตรฐาน กรด-ด่าง ไนเตรต แอมโมเนียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม

‘น้ำยา’และ‘ผง’เบอร์ 2-9 สำหรับวัด‘เอ็น พี และ เค’ แอมโมเนียม ไนเตรต ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม 3 4 6 9A 9 2 5 7 8

การตรวจสอบความเป็นกรด-ด่าง (พีเอช) ของดิน 1. ใส่ดินลงในหลุมพลาสติก ประมาณครึ่งหลุม โดยใช้ซ้อน ตักดินที่สะอาด 2. หยดน้ำยาเบอร์ 10 ลงไป จนดินอิ่มตัว แล้วเพิ่มอีก 2 หยด 3. เอียงหลุมพลาสติกไปมา (ถ้าดินเหนียวเกาะกันเป็นก้อน ให้ใช้ปลายซ้อนเขี่ยเบาๆ ระวัง อย่าให้น้ำยาขุ่น) 4. ทิ้งไว้ 1 นาที เปรียบเทียบสี ของน้ำยาบริเวณขอบหลุมกับ แผ่นเทียบสีมาตรฐาน ‘พีเอช’ น้ำยา เบอร์ 10 หลุมพลาสติก แผ่นเทียบสีมาตรฐาน ‘พีเอช’

การเตรียมอุปกรณ์สำหรับกรอง ของเหลวที่ได้จากการสกัด ปรับให้เหลื่อมกัน ประมาณ ½-1 ซม. เหลื่อมกัน ½-1 ซม. 3 พับครึ่ง 1 2 พับครึ่ง

การสกัดธาตุอาหารพืชออกจากดิน ใส่น้ำยาสกัดเบอร์ 1 20 มล. 2 1 กระบอกตวง 20 มล. ตวงตัวอย่างดิน 1 ช้อน (เคาะเบาๆ 3 ครั้ง แล้วปาดให้เสมอขอบช้อน) น้ำยาสกัดเบอร์ 1 ปิดฝา และเขย่าให้เข้ากัน 5 นาที แล้วจึงกรอง ช้อนตวงดิน 3 ขวดสกัดดิน

ผ่านบนกระดาษกรองเท่านั้น หลังเขย่า 5 นาที เทดินและน้ำยาสกัด ผ่านบนกระดาษกรองเท่านั้น ขวดสกัดดิน รอจนของเหลว ซึมออกจาก กระดาษกรองจนหมด ใช้เวลาประมาณ 5 นาที ขวดรองรับ

เมื่อดูดตัวอย่างใหม่ ดูดสารละลาย ที่ผ่าน การกรองแล้ว ใส่ลงในหลอดแก้ว 2.5 2.5 0.8 เอ็น พี เค 1 2 3 N P K 2.5 มล. 0.8 มล. หมายเหตุ : ต้องล้างด้วยน้ำ สะอาดทุกครั้ง เมื่อดูดตัวอย่างใหม่ ขวดรองรับ ไนเตรต / แอมโมเนียม โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส

การตรวจสอบปริมาณ ‘แอมโมเนียม’ (N) หลอดที่ 1 N 1. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 2.5 มล. ใส่ลงในหลอดแก้ว 2. เติมผงเบอร์ 2 หนึ่งซ้อนเล็ก 3. เติมน้ำยาเบอร์ 3, 5 หยด 4. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 5. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 6. อ่านค่า ‘แอมโมเนียม’ โดย เปรียบเทียบกับ ‘แผ่นสีมาตรฐาน แอมโมเนียม’ - ถ้าเกิดโทนสีฟ้า ใช้แผ่นที่ 1 - ถ้าเกิดโทนสีเขียวใช้แผ่นที่2 VL L 3 M 2 H VH

การตรวจสอบปริมาณ ‘ไนเตรต’ (N) หลอดที่ 1 N 1. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 2.5 มล. ใส่ลงในหลอดแก้ว 2. เติมน้ำยาเบอร์ 4 0.5 มล. 3. เติมผงเบอร์ 5 หนึ่งซ้อนเล็ก 4. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 5. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 6. อ่านค่า ‘ไนเตรต’ โดย เปรียบเทียบกับ ‘แผ่นสีมาตรฐาน ไนเตรต’ 5 4 H M L VL

การตรวจสอบปริมาณ ‘ฟอสฟอรัส’ (P) หลอดที่ 2 P 1. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 2.5 มล. ใส่ลงในหลอดแก้ว 2. เติมน้ำยาเบอร์ 6 0.5 มล. 3. เติมผงเบอร์ 7 ครึ่งซ้อนเล็ก 4. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 5. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 6. อ่านค่า ‘ฟอสฟอรัส’ โดย เปรียบเทียบกับ ‘แผ่นสีมาตรฐาน ฟอสฟอรัส’ 7 6 VH H M L VL

การตรวจสอบปริมาณ ‘โพแทสเซียม’ (K) หลอดที่ 3 K หลอดที่ 1 1. ดูด ‘น้ำกรอง’ 3 มล. ใส่ลงใน ขวดเบอร์ 9 เขย่าให้เข้ากัน 5 นาที 2. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 0.8 มล. 3. เติมน้ำยาเบอร์ 8 2.0 มล. 4. เติมน้ำยาเบอร์ 9A จำนวน 1 หยด แล้วเขย่าให้เข้ากัน 5. เติมน้ำยาเบอร์ 9 จำนวน 2 หยด (ห้ามเกิน) 6. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 7. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 8. อ่านค่า ‘โพแทสเซียม’ โดย เปรียบเทียบกับ ‘แผ่นสีมาตรฐาน โพแทสเซียม’ (ถ้ามีตะกอนเท่ากับสูง) 3 มล. 9A 9 8 น้ำกรอง หมายเหตุ : ถ้าตกตะกอน แสดงว่ามี K สูง H M L