กรุงธนบุรีเกิดความไม่สงบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
กองบูรณะและบำรุงรักษา
นางสาววิไลวรรณ อยู่เย็น
ASEAN : Laos น.ส. ปรัฐษฎา บุญมา รหัส หมู่ 30 คณะ อก.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
บันทึกประวัติศาสตร์ เรื่อง....การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
ท่าเทียบเรือประมง อ.คุระบุรี จ.พังงา
บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย
การศึกษาและพัฒนาอาคารวัดปริมาณน้ำ ที่มีระดับต่างคงที่ (CHO)
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
เรื่องการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของประเทศไทย
โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม
นางสาวสุกัญญา จันทร์ทอง (ฝน) คณะอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิทยาการสิ่งทอ
แนะนำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
1 สารบั ญ ชื่อเมืองสงขลาได้ปรากฏชื่อในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จ พระรามาธิบดีที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ. ศ ว่าเป็นเมือง ประเทศราชในจำนวน.
คำนำ งานนำเสนอเรื่องใช้ประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ง20210เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 โปรแกรม PowerPoint 2007 เพื่อศึกษาในเรื่อง เขาวัง(พระนครคีรี) ผู้จัดหวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ศึกษาหากมีข้อผิดพลาประการใดผู้จัดทำขออภัยมา.
วัตถุประสงค์ของโครงการ
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
เรื่อง ทักษะการเล่นวอลเล่ย์บอล
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของยุโรป
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
สถานที่ท่องเที่ยวประเทศอังกฤษ
จังหวัดปราจีนบุรี คำขวัญประจำจังหวัด
จังหวัดสมุทรปราการ โดย นางสาวปรียารัตน์ ละอองฐิติรัตน์
บ้านของฉัน “สุพรรณบุรี”
นครชุมเมืองเก่า โดย พลอยกนก เวชเจริญ.
จังหวัด สมุทรปราการ จัดทำโดย นางสาวจอมขวัญ เหมรัตนธร
จัดทำโดย นางสาวปฑันทิญา จินดาเสวก คณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่ม 10
สถานที่ท่องเที่ยวอยุธยา
สถานที่ท้องเที่ยวจังหวัดฉะเชิงเทรา
สถานที่ท่องเที่ยวอยุธยา
ระยะทางจากอยุธยา-วัด ประมาณ 25 กิโลเมตร โดยใช้เส้นทาง 1 จากแยกวัดพระญาติ ลอดใต้สะพาน ผ่านวัดสะแก ไปอุทัย หรือ 2 ไปนิคมโรจนะ เลี้ยวซ้ายแยกยกระดับ หลังจากนั้นใช้เส้นทางสามบัณฑิต.
WELCOME To ANGTHONG.
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ประวัติ พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของ เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า " บางกอก " มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญ.
ภาคใต้.
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
นโยบายการพัฒนาชุมชนเมือง กรณีเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี
จัดทำโดย: น.ส.กนกวรรณ มาลา
ทัศนะศึกษา วัดอรุณราชวราราม.
โดย ด.ญ. ชาดา จินะกาศ เลขที่ 25 ม. 2/8 โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
บทที่11 สถานที่ท่องเที่ยวอันลือชื่อของไทย
สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด. ญ
เขื่อนปากชม.
การออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ขนมฝรั่งกุฎีจีน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ชุมชนท่าเตียน.
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
สมาชิกในอาเซียน.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ประเทศสิงคโปร์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรุงธนบุรีเกิดความไม่สงบ พระยาสรรค์เป็นกบฏ พระยาสรรค์เป็นกบฏ

สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก สถาปนาราชวงศ์จักรี ๖ เมษายน ๒๓๒๕

พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี พระบาทสมเด็จพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

กรุงรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานคร

ข้อเสียของกรุงธนบุรี กรุงธนบุรีเป็นเมืองที่มีการสร้างป้อมปราการเอาไว้ทั้งสองฝั่งแม่น้ำ โดยเอาแม่น้ำ ผ่ากลาง (เรียกว่าเมืองอกแตก) เหมือนเมืองพิษณุโลกมีประโยชน์ตรงที่อาจเอาเรือรบไว้ในเมือง เมื่อเวลาถูกข้าศึกมาตั้งประชิด แต่การรักษาเมืองคนข้างใน จะถ่ายเทกำลังเข้ารบพุ่งรักษาหน้าที่ได้ไม่ทันท่วงที เพราะต้องข้ามแม่น้ำ แต่แม่น้ำเจ้าพระยาทั้งกว้างและลึกจะทำสะพานข้ามก็ไม่ได้ ทำให้ยากแก่การรักษาพระนครเวลาข้าศึกบุก...

กรุงธนบุรีอยู่ในท้องคุ้งน้ำ ทำให้น้ำกัดเซาะตลิ่งพังได้ง่าย ข้อเสียของกรุงธนบุรี กรุงธนบุรีอยู่ในท้องคุ้งน้ำ ทำให้น้ำกัดเซาะตลิ่งพังได้ง่าย

- บริเวณพระราชวังเดิมของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชคับแคบ มีวัดขนาบทั้งสองข้าง คือ วัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) กับวัดท้ายตลาด (วัดโมฬีโลกยาราม) ทำให้ยากแก่การขยายพระราชวังให้กว้างออกไป

ข้อดีของอีกฝั่ง - ทางฝั่งกรุงเทพฯเป็นที่ชัยภูมิเหมาะสมเพราะเป็นหัวแหลม ถ้าสร้างเมืองแต่เพียง ฟากเดียว จะได้ แม่น้ำใหญ่เป็นคูเมืองทั้งด้านตะวันตกและด้านใต้ เพียงแต่ขุดคลองเป็นคูเมืองแต่ด้านเหนือและด้านตะวันออกเท่านั้น ถึงแม้ว่าข้าศึกจะเข้ามาโจมตีก็พอต่อสู้ได้ - เนื่องด้วยทางฝั่งตะวันออกนี้ พื้นที่นอกคูเมืองเดิมเป็นพื้นที่ลุ่มที่เกิดจากการตื้นเขินของทะเล ข้าศึกจะยกทัพมาทางนี้คงทำได้ยาก ฉะนั้นการป้องกันพระนครจะได้มุ่งป้องกันเพียง ฝั่งตะวันตก แต่เพียงด้านเดียว - ฝั่งตะวันออกเป็นพื้นที่ใหม่ สันนิษฐานว่าชุมชนใหญ่ในขณะนั้นคงจะมีแต่ชาวจีนที่เกาะกลุ่มกันอยู่จึงสามารถขยายออกไปได้อย่างกว้างขวาง และขยายเมืองได้เรื่อยๆ...อ้าง

ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญด้านเศรษฐกิจและการปกครอง ๑. ด้านผู้นำ สร้างความมั่นคงให้บ้านเมือง สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ที่ตั้งภูมิศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม

พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๓๙๔ ด้านการเมืองการปกครอง กฎหมายตรากฎสามดวง สมุหนายก สมุหพระกลาโหม กรมท่า ปกครองหัวเมือง ฝ่ายเหนือ ปกครองหัวเมือง ฝ่ายใต้ ปกครองหัวเมือง ชายทะเลอ่าวไทย

ด้านสังคมและวัฒนธรรม กลุ่มคนในสังคม ชนชั้นปกครอง ชนชั้นผู้ถูกปกครอง พระมหากษัตริย์ เป็นประมุขของอาณาจักร ไพร่ ราษฎร เจ้านาย เชื้อสายราชวงศ์ ทาส ราษฎรที่ขาดสิทธิและแรงงาน ขุนนาง ข้าราชการ

นำแพทย์สมัยใหม่มาใช้ ด้านวัฒนธรรม สังคายนาพระไตรปิดก พระราชนิพนธ์ มิชชั่นนารี นำแพทย์สมัยใหม่มาใช้ รามเกียรติ์ มีโรงพิมพ์ อิเหนา สังข์ทอง ไกรทอง นิราศรบที่ท่าดินแดง ขุนช้างขุนแผน

รัชกาลที่ ๒

สร้างและบูรณะวัดวาอาราม วัดเชตุพนวิมลมังคลาราม รัชกาลที่ ๓ สร้างและบูรณะวัดวาอาราม วัดอรุณราชวราราม วัดเชตุพนวิมลมังคลาราม

ด้านเศรษฐกิจ ค้าขายกับต่างประเทศ ทำเกษตรกรรมเป็นหลัก

พัฒนาการในสมัยการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๗๕ ด้านการเมืองการปกครอง ด้านวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ

ด้านการเมืองการปกครอง

รัชกาลที่ ๕ อนุญาตให้เฝ้ารับเสด็จ มองพระพักตร์ได้ ถวายฎีกาได้ ปฏิรูประบบการปกครองเป็น มณฑลเทศาภิบาล การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค กระทรวง มณฑลเทศาภิบาล กรม เมือง อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน

ด้านสังคมและวัฒนธรรม รับวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ รัชกาลที่ ๕ รับวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ การเลิกทาส มีโรงเรียน การแต่งกาย การไหว้ทรงผม การใช้ช้อนซ่อม การใช้รถราง

กำหนดชื่อบุรุษ สตรี เด็ก รัชกาลที่ ๖ กำหนดชื่อบุรุษ สตรี เด็ก การใช้นามสกุล สตรีไว้ผมยาว สตรีนุ่งผ้าซิ่น ใช้ธงไตรรงค์ มีการศึกษาภาคบังคับ ตั้งมหาวิทยาลัย

ด้านการเมืองการปกครอง