โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
สรุปผลการดำเนินงาน เดือนมิถุนายน 2555
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ประเด็นการตรวจติดตาม
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
Lab 1. การเก็บตัวอย่าง และการจำแนกชนิดวัชพืช
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ประมวลภาพ โครงการติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มที่ 5 จังหวัดตรัง.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
“แนวทางการดำเนินงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ”
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
งานศูนย์ศิลปาชีพบางไทร อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
โครงการขยายผลการเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งในแม่น้ำตากใบสืบเนื่องมาจากพระราชดำริ (ในสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ) ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส.
ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
ด้านที่ ๓ ผลการดำเนินงาน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
มิติผลการปฏิบัติงาน (Performance) คะแนน ร้อยละความสำเร็จของการจัดที่ดิน ร้อยละความสำเร็จของการจัดที่ดินทำกิน พื้นที่ X-ray การรังวัด.
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ แผนแม่บท โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ระยะ ๕ ปีที่ห้า (๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙) กรมการข้าว

อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรพันธุกรรมข้าวให้เกิดประโยชน์ถึงประชาชน เป้าหมาย พัฒนาบุคลากร อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรพันธุกรรมข้าวให้เกิดประโยชน์ถึงประชาชน

วัตถุประสงค์  เพื่อสนองพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากร  เพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของพันธุกรรมข้าว  เพื่อเผยแพร่ความรู้และผลงานด้านการอนุรักษ์และพัฒนาพันธุกรรมข้าว  เพื่อให้มีระบบข้อมูลพันธุกรรมข้าวที่สมบูรณ์ ทันสมัย และสื่อถึงกันได้ทั่วประเทศ  เพื่อให้เกิดผลประโยชน์แก่ชุมชนและประชาชนทั่วไป

กรอบแนวทาง กิจกรรม ปกปักพันธุกรรมพืช การเรียนรู้ทรัพยากร สำรวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช ปลูกรักษาพันธุกรรมพืช อนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช การใช้ประโยชน์ ศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพืช วางแผนพัฒนาพันธุ์พืช สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช การสร้างจิตสำนึก กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช

๒. กรอบการใช้ประโยชน์ ๒.๑ กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช ๒.๑.๑ ปลูกทดสอบพันธุ์ข้าวไร่ ๒.๑.๒ ประเมินลักษณะทนดินเปรี้ยวของข้าวป่า ๒.๑.๓ ประเมินลักษณะทนเค็มของข้าวป่า ๒.๑.๔ ทดสอบความต้านทานของข้าวป่าต่อโรคขอบใบแห้ง ใบหงิก และใบขีดโปร่งแสง

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช (ข้าว) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จังหวัดกาญจนบุรี ปี ๒๕๕๖

วัตถุประสงค์ของโครงการ วัตถุประสงค์ในภาพรวม ๑) เพื่อสนองพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากร ๒) เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้การอนุรักษ์และพัฒนาพันธุกรรมข้าวทางภาคตะวันตกของประเทศ

วัตถุประสงค์ในภาพรวม ๓) เพื่อเผยแพร่ความรู้ ผลการศึกษาวิจัยในการอนุรักษ์และพัฒนาพันธุกรรมข้าว ๔) เพื่อให้เกิดผลประโยชน์แก่ชุมชนและประชาชนทั่วไป

วัตถุประสงค์ของกรมการข้าว - เพื่อทดสอบหาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่ อนุรักษ์พันธุกรรม และแจกจ่ายให้กับราษฎรในพื้นที่โครงการ

เป้าหมาย ได้พันธุ์ข้าวไร่ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่

การดำเนินงาน ปี ๒๕๕๖ กิจกรรม เป้าหมาย ทดสอบพันธุ์ข้าวไร่ ๓-๕ พันธุ์

ผลการวิเคราะห์ดิน pH O.M. (%) N P (ppm) K 6.92 2.26 0.11 8.4 105.0

การปฏิบัติงาน วันที่ กิจกรรม 30 พ.ค. 56 ไถเตรียมดิน ครั้งที่ 1 (ไถดะ) ตรวจแปลงวางแผนการปลูก 12 มิ.ย. 56 ประชุมวางแผนงานร่วมกับเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการฯ ณ โรงเรียน ตชด. บ้านแม่น้ำน้อย 17 มิ.ย. 56 ไถเตรียมดิน ครั้งที่ 2 (ไถแปร) 19-21 มิ.ย. 56 ปลูกข้าว 5 ก.ค. 56 ตรวจแปลง พบปัญหาข้าวไม่ค่อยงอก เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการพ่นสารคุมวัชพืช (หลังจากพ่นมีฝนตกชุก) 6-7 ก.ค. 56 ปลูกซ่อม 11-12 ก.ค. 56 บันทึกข้อมูล กำจัดวัชพืช ส่งมอบปุ๋ยอินทรีย์จำนวน 4 ตัน 19-20 ส.ค. 56 มุงตาข่ายกันนก พ่นสารกำจัดวัชพืชในแปลงและรอบแปลง

การปฏิบัติงาน 25 ก.ย. 56 บันทึกข้อมูลความสูง จำนวนรวง วันออกดอก วันที่ กิจกรรม 25 ก.ย. 56 บันทึกข้อมูลความสูง จำนวนรวง วันออกดอก 16 ต.ค. 56 เก็บเกี่ยว บันทึกข้อมูลจำนวนต้นต่อแปลงย่อย 17-25 ต.ค. 56 ปฏิบัติงานตาก นวด ทำความสะอาดเมล็ด บันทึกข้อมูลน้ำหนักต่อแปลงย่อย น้ำหนัก 1,000 เมล็ด จำนวนเมล็ดดีต่อรวง เ

แผนผังแปลงปลูกข้าวไร่ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช จังหวัดกาญจนบุรี ปี ๒๕๕๖   1 3 2 5 4 เจ้าลีซอ เจ้าฮ่อ เจ้าขาว ลืมผัว พญาลืมแกง 2 m 23 m 17 m ถนน

๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๖

พันธุ์ ความสูง (ซม.) จำนวน รวง วัน ออกดอก การติดเมล็ด (%) พญาลืมแกง 151.0 7.2 10-15 ก.ย. 91 ลืมผัว 147.5 8.5 15-18 ก.ย. 92 เจ้าขาว 182.4 10.9 90 เจ้าฮ่อ 168.2 10.3 94 เจ้าลีซอ 160.6 10.2

ปัญหา อุปสรรค สถานที่ดำเนินงานอยู่ไกลทำให้เสียเวลาในการเดินทางไปปฏิบัติงาน ฝนตกชุกในช่วงหยอดเมล็ด ทำให้ต้องปลูกซ่อมและการควบคุมวัชพืชในระยะข้าวเริ่มงอกไม่ดีเท่าที่ควร มีนกลงจิกกินเมล็ดข้าว แต่สามารถแก้ไขได้โดยการมุงตาข่ายกันนก

แผนการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๗ กิจกรรม เป้าหมาย ทดสอบพันธุ์ข้าวไร่ ๔-๕ พันธุ์ ทดลองข้าวนาสวน ๑-๒ พันธุ์