2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการเรียนการสอนสาระคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
พื้นที่ผิวและปริมาตร
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ความเท่ากันทุกประการ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
Homework 2D Equilibrium of Particle
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
ทฤษฏีบทพีธาโกรัส กรรณิกา หอมดวงศรี ผู้เขียนเนื้อหา.
Tangram.
มาสเตอร์วุฒินันท์ สิงห์เผ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
นักคณิตศาสตร์ในอดีต.
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
นายสุวรรณ ขันสัมฤทธิ์
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
คุณสมบัติการหารลงตัว
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
พื้นที่และปริมาตร พีระมิด คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค33101
แบบทดสอบเรื่องเศษส่วนและทศนิยม
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
พีระมิด.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วงรี ( Ellipse).
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
ปริมาตรทรงสามมิติ  พื้นที่ฐาน  สูง.
บทกลับของทฤษฎีพิทาโกรัส
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จงสร้างตารางแจก แจงความถี่ของ ข้อมูลต่อไปนี้ โดย กำหนดให้มี 5 ชั้น และหาขอบล่าง, ขอบบน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส) กล่าวว่า : ในรูปสามเหมี่ยมมุมฉากใดๆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับผลบวกของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านประกอบมุมฉาก b c a

กล่องบรรจุนมสดทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกว้าง 3 กล่องบรรจุนมสดทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกว้าง 3.5 เ ซนติเมตร ยาว 5 เซนติเมตร และ สูง 12 เซนติเมตร ผู้ผลิตต้องการติดหลอดดูดชนิดตรงแนบกับกล่อง โดยไม่ให้หลอดดูดยาวพ้นกล่อง เขาจะใช้หลอดดูดได้ยาวที่สุดกี่เซนติเมตร ข้อ 1 ให้หลอดยาว = c c2 = a2 + b2 c 2 = 52 + 122 5 12 c 2 = 25 + 144 = 169 c = 13 ดังนั้น หลอดยาว = 13 เซนติเมตร

จากแผนผังกำหนดตำแหน่งที่ตั้งบ้านของแสงดาว ตลาด และโรงเรียนเป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ตลาดอยู่ห่างจากบ้านของแสงดาว 1.8 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากโรงเรียน 2.4 กิโลเมตร ทุก ๆวัน หลังเลิกเรียน แสงดาวจะต้องขี่จักรยานไปแวะซื้อกับข้าวที่ตลาดก่อนกลับบ้าน แต่ในตอนเช้าแสงดาวขี่จักรยานตรงไปโรงเรียน โดยไม่ผ่านตลาด จงหาว่าแต่ละวันแสงดาวขี่จักรยานเป็นระยะทางกี่กิโลเมตร ข้อ 2

โรงเรียน 2.4 กิโลเมตร ตอนเย็น ตอนเช้า ตลาด บ้าน 1.8 กิโลเมตร

แต่ละวันแสงดาวขี่จักรยานเป็นระยะทาง = 1.8 + 2.4 + 3 = 7.2 กิโลเมตร โรงเรียน ตลาด บ้าน บ้าน โรงเรียน = c 1.8 กิโลเมตร 2.4 กิโลเมตร โรงเรียน ตลาด = b ตลาด บ้าน = a c2 = a2 + b2 c2 = 1.82 + 2.42 3 x 3 c2 = 3.24 + 5.76 = 9 c = 3 บ้าน โรงเรียน = 3 กิโลเมตร แต่ละวันแสงดาวขี่จักรยานเป็นระยะทาง = 1.8 + 2.4 + 3 = 7.2 กิโลเมตร

พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก = 1 2 = จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านหนึ่งยาว 7 เซนติเมตร และด้านตรงข้ามมุมฉากยาว 25 เซนติเมตร ข้อ 3 c2 = a2 + b2 7 เซนติเมตร 25 เซนติเมตร 252 = 72 + b2 b2 = 252 - 72 b2 = 625 - 49 = 576 b = 24 x ฐาน x สูง 1 2 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก = x 7 x 24 1 2 = 1 2 1 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก = 84

กำหนด ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก CD ตั้งฉากกับ AB ที่จุด D AC = 15 หน่วย และ BC = 8 หน่วย จงหา ข้อ 4 A C B D 4.1 ความยาวของ AB 15 8 รูปสามเหลี่ยม ABC AB2 = AC2 + BC2 AB2 = 152 + 82 AB2 = 225 + 64 = 289 AB = 17

พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = A C B D 15 8 17 4.2 พื้นที่ ABC x ฐาน x สูง 1 2 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = 4 x 8 x 15 1 2 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = 1 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = 60 ตารางหน่วย

พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = A C B D 15 8 17 4.3 ความยาวของ CD x ฐาน x สูง 1 2 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = x 17 x CD 1 2 60 = 60 x 2 17 CD = 7 1 17 CD = = 7. 06 หน่วย

ข้อ 5 ต้นไม้ต้นหนึ่งใช้เชือกผูกที่จุด ซึ่งห่างจากยอด 2 ฟุต แล้วดึงมาผูกที่หลัก ซึ่งอยู่ห่างจากโคนต้นไม้ 15 ฟุต ถ้าลวดยาว 25 ฟุตต้นไม้นี้สูงกี่ฟุต b } 2 ฟุต 15 ฟุต a = 25 ฟุต c = ให้ต้นไม้สูง = b ฟุต c 2 = a2 + b2 25 2 = 152 + b2 b2 = 25 2 - 152 b2 = 625 - 225 = 400 b = 20 ฟุต

ข้อ 6 บันไดยาว 6.5 เมตร วางพิงผนังตึกให้เชิงบันไดห่างจากผนัง 2.5 เมตร 6.1 อยากทราบว่าปลายบนของบันไดอยู่สูงจากพื้นกี่เมตร ให้ปลายบนของบันไดอยู่สูงจากพื้น b เมตร c 2 = a 2 + b 2 6.5 เมตร = c 2.5 เมตร = a b แทนค่า 6.52 = 2.52 + b2 42.25 = 6.25 + b2 b2 = 42.25 - 6.25 b2 = 36 b = 6 เมตร ดังนั้น ปลายบนของบันไดอยู่สูงจากพื้น = 6 เมตร

6.2 ถ้าต้องการพิงบันไดให้ปลายบนของบันไดอยู่สูงกว่าพื้นไม่ถึง 6 เมตร ควรจะวางเชิงบันไดห่างจากผนังตึก มากกว่าหรือน้อยกว่า 2.5 เมตร ถ้าต้องการพิงบันไดให้ปลายบนของบันไดอยู่สูงกว่าพื้นไม่ถึง 6 เมตร ควรจะวางเชิงบันไดห่างจากผนังตึก มากกว่า 2.5 เมตร 6 เมตร = b 6.5 เมตร = c 2.5 เมตร = a

เสาธงต้นหนึ่ง ตั้งตรงอยู่ด้วยเสาข้างสองต้น ซึ่งมีน้อตยึดติดอยู่ 2 ตัว โดยน้อตตัวบนสูงจากพื้น 9 ฟุต นายสำราญต้องการทาสีเสาธง เขาจึงถอดน้อตตัวล่างแล้วหมุนเสาธง ดังรูป โดยยอดเสาธงอยู่ห่างจากโคนเสา 12 ฟุต จงหาว่าเสาธงต้นนี้เมื่อ ตั้งตรง ยอดเสาธงอยู่ห่างจากพื้นเท่าไร ข้อ 7 ให้ยอดเสาธงอยู่ห่างจากพื้น c ฟุต 12 ฟุต 9 ฟุต 9 ฟุต 12 ฟุต } c 2 = a 2 + b 2 c 2 = 9 2 + 12 2 c 2 = 81 + 144 = 225 c = 15 ดังนั้น ยอดเสาธงอยู่ห่างจากพื้น = 15+9 = 24 ฟุต