บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Advertisements

Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Introduction to C Introduction to C.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
VBScript.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
BC320 Introduction to Computer Programming
Department of Computer Business
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
CS Assembly Language Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
กล่องข่าวสาร (Message Box)
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ครูรัตติยา บุญเกิด.
เรื่อง การซ่อน - แสดงคอลัมน์ / แถว จัดทำโดย ด. ช. พงศ์วริศ ชาติชะนา ชั้น ม. 2/5 เลขที่ 37 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 10 สตริง.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
ข้อมูลแบบโครงสร้างและยูเนียน
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
บทที่ 5 เทคนิคการสร้างแอพพลิเคชัน
Variables and Data Types กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
Data Structure and Algorithms
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0 สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาเท่านั้น

ฟังก์ชัน และคำสั่ง ฟังก์ชัน หมายถึง ชุดคำสั่ง(Routine) ที่ใช้ในการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยการส่งค่าที่ฟังก์ชันต้องการไปให้ เพื่อให้ฟังก์ชันคืนค่ากลับมา เช่น ฟังก์ชัน Mid$, Len, Format เป็นต้น บางฟังก์ชันสามารถเป็นคำสั่งได้ด้วย โดยเมื่อทำหน้าที่เป็นคำสั่งจะใช้ในการกำหนดค่าแทน เช่น ฟังก์ชัน “Date” เมื่อใช้ฟังก์ชันจะคืนค่ากลับมาเป็นวันที่ปัจจุบัน แต่ถ้าทำหน้าที่เป็นคำสั่ง จะใช้กำหนดค่าของวันที่ปัจจุบันแทน เป็นต้น คำสั่ง หมายถึง คำสั่งโดยทั่วไปที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเช่น กลุ่มคำสั่ง Branching กลุ่มคำสั่ง Iteration กลุ่มคำสั่ง Conditional เป็นต้น

ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับ String ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับตัวเลข ฟังก์ชันที่ใช้แปลงระหว่างตัวแปรต่างชนิดกัน ฟังก์ชันในส่วนนี้จะใช้สำหรับแปลงค่าของตัวแปร ซึ่งเก็บอยู่ในรูปแบบหนึ่งไปเก็บอยู่ในตัวแปรอีกรูปแบบหนึ่ง โดยยังคงค่าในตัวแปรนั้นไว้เช่นเดิม เช่น แปลงจากตัวแปรแบบ Double ไปเป็นตัวแปรแบบ Currency หรือ แปลงจากตัวแปรแบบ Integer ไปเป็นตัวแปรแบบ Double เป็นต้น

คำสั่งและฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับ Data และ Time วันที่ที่ใช้อยู่ใน Visual Basic จะเริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ปี ค.ศ. 100 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม ปี ค.ศ. 9999 ซึ่งรูปแบบของวันที่ที่ Visual Basic จัดเก็บ จะอยู่ในรูปของ Serial Number ซึ่งจะใช้เนื้อที่ในการเก็บเท่ากับ 8 Bytes ในหน่วยความจำ Serial Number นี้จะเป็นตัวเลขในลักษณะ Double-Precision Floating Point ที่ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนก่อนจุดทศนิยมที่ใช้สำหรับเก็บตัวเลขที่ใช้แทนวันที่ และส่วนที่อยู่หลังจุดทศนิยมที่ใช้เก็บตัวเลขที่ใช้แทนเวลา เช่น 34931.064583333 จะหมายถึงวันที่ 30 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1899 (ตัวเลข 34391) เวลา 1:33 AM (ตัวเลข 06458333) ในการนำเอาวันที่และเวลามาใช้กับตัวแปรใน Visual Basic ควรที่จะใช้กับตัวแปรประเภท Variant เนื่องจากในการใช้ฟังก์ชันต่างๆ กระทำกับตัวแปรที่ใช้เก็บวันที่หรือเวลา อาจจะใช้ประเภทตัวแปรที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงควรที่จะกำหนดให้ตัวแปรเป็นประเภท Variant เพื่อที่ Visual Basic จะได้แปลงวันที่และเวลาให้อยู่ในรูปที่ถูกต้อง

MsgBox MsgBox ใช้สำหรับเรียก Dialog Box ของ Windows ที่ทำหน้าที่ในการแสดง ข้อความเตือนขึ้นมาทำงาน โดยมีรูปแบบ ดังนี้ MsgBox ในรูปแบบของคำสั่ง จะมีรูปแบบดังนี้ MsgBox prompt[, buttons] [, title] [,helpfile, context] MsgBox ในรูปแบบของฟังก์ชัน จะมีรูปแบบดังนี้

Format ใช้สำหรับแสดงผลข้อมูลที่เป็นตัวเลขในรูปแบบต่าง ๆ ตามที่กำหนด ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ Format(expression[, format[, firstdayofweek[, firstweekofyear]]])