สารสนเทศกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 การศึกษา หมายถึง กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์ จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต
การเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
วิวัฒนาการของสังคมมนุษย์ การเกษตร อุตสาหกรรม ข้อมูลข่าวสาร
สารสนเทศ INFORMATION
ความหมายที่ 1 ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อเท็จจริง เรื่องราว หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ความหมายที่ 2 ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ที่ผ่านการประมวลผลแล้ว มีความหมายสามารถ นำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ
ตัวอย่าง คะแนนต่ำสุด คะแนนเฉลี่ย 1 6 9 4 7 2 8 3 5 นิสิต คะแนน คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด คะแนนเฉลี่ย 1 6 9 4 7 2 8 3 5
สารสนเทศ ปัญหาในการใช้สารสนเทศ เทคนิค : การเข้าถึง การคัดเลือก ปัจจัยแวดล้อม : การใช้ประโยชน์
Information is Power
สารสนเทศ ความสำคัญ บุคคล/องค์กร สังคม การเมือง การพัฒนา
สารสนเทศ ธรรมชาติของสารสนเทศ (นฤมล ปราชโยธิน, ทวีศักดิ์ ก่ออนันตกูล และเปรมิน จินดาวิมลเลิศ. 2536 : 19 ) ดำรงอยู่แล้วสูญสลาย ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง มีคุณค่า/ไม่มีคุณค่า ไม่เป็นกลาง ไม่มีความสมบูรณ์รอบด้านในตัวเอง
สารสนเทศ ประเภทของสารสนเทศ (ประภาวดี สืบสนธ์. 2543 : 13-15 ) แหล่งกำเนิด สารสนเทศในหน่วยงาน และ สารสนเทศนอกหน่วยงาน 2. รูปแบบที่นำเสนอ วัสดุตีพิมพ์ โสตทัศนวัสดุ ภาพวาด สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 3. สาขาความรู้ การบริหาร การบัญชี กฎหมาย วิทยาศาสตร์
สารสนเทศ ประเภทของสารสนเทศ (ต่อ) (ประภาวดี สืบสนธ์. 2543 : 13-15 ) 4. การใช้และการถ่ายทอด สารสนเทศ know-why เน้นวิชาการ สารสนเทศ know-how เน้นเทคนิค สารสนเทศ show-how เน้นการปฏิบัติ สารสนเทศ know-who เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง 5. ลักษณะการผลิต สารสนเทศต้นแบบ สารสนเทศปรุงแต่ง
สารสนเทศ ลักษณะของสารสนเทศที่ดี เข้าถึงง่าย เนื้อหาสมบูรณ์ มีความแม่นยำ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ ทันต่อเวลา มีความชัดเจน มีความยืดหยุ่น สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาได้ ไม่ลำเอียง ได้มาจากแหล่งที่เชื่อถือได้
สารสนเทศ การประเมินคุณค่าสารสนเทศ ความน่าเชื่อถือของผู้จัดทำ (Authority/Creditability) ความถูกต้องเที่ยงตรง (Accuracy) ความตรงต่อวัตถุประสงค์ในการใช้งาน (Objecctivity) กลุ่มเป้าหมาย/ระดับของสารสนเทศ (Intended audience/Level of information) ความทันสมัย (Date of publication) ความสะดวกในการใช้งาน (Ease of use)
การรู้สารสนเทศ Information Literacy ทักษะความรู้ความสามารถของบุคคล ที่จะบอกได้ว่าต้องการ สารสนเทศอะไร สามารถค้นหา ประเมิน และใช้สารสนเทศ ที่ได้มาอย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้รู้สารสนเทศ Information Literate คุณลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ กำหนดความต้องการสารสนเทศของตนเองได้ เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ ประเมินสารสนเทศและแหล่ง ประมวล/สังเคราะห์ ใช้สารสนเทศได้ตรงวัตถุประสงค์ เข้าใจในบริบทของสารสนเทศในด้านต่าง ๆ
มาตรฐานการรู้สารสนเทศ 1.กำหนดสารสนเทศที่ต้องการได้ (Know) 2.เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้ (Access) 3.ประเมินสารสนเทศและแหล่งได้ (Evaluate) 4.ใช้สารสนเทศที่ต้องการได้ตามวัตถุประสงค์ (Use) 5.ใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรมและถูกกฏหมาย (Ethical/Legal)