หลักการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. ประกอบโครงสร้างหุ่นยนต์. (ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง)
Advertisements

โปรแกรมภาษาโลโก (logo)
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
โปรแกรมทดสอบที่1 ทดสอบการแสดงผลข้อความ
โปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
COE : Microcat.
นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Low-speed UAV Flight Control Phase II
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
ขั้นตอนการฝึกความคิดด้านการคิดวิเคราะห์
การเขียนผังงาน.
COE : Microcat. ผู้พัฒนาโครงการ นาย สราวุฒิ สมญาติ อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติ กูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วสุ เชาว์พานนท์ อ. ดารณี หอมดี
“ความรู้เรื่องกฎจราจร” สถานีตำรวจภูธรอำเภอหาดใหญ่
เตรียมการก่อนเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เดินตามเส้น
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การโต้ตอบแบบ Target Area
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
ENCODER.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
การสร้างบทเรียน CAI ด้วย Flash
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
DS30M DUAL FEED GUN.
ลักษณะงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของแต่ละฝ่าย ในหน่วยงาน ส่วนเครื่องจักรกล สชป.1 มีดังนี้
Menu อุปกรณ์อินพุต (Input device) อุปกรณ์นำข้อมูลเข้า เมาส์คอมพิวเตอร์
การจำลองการทำงานของมอเตอร์ Mono Pole Motor
ระบบกลไก.
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
เครื่องมือที่ใช้ในการกำหนดการเคลื่อนไหว
เรียนรู้การสร้างเกมจากตัวอย่าง 1
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
หุ่นยนต์สุดฮิต 35 แบบ สร้างเองได้ทันที
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ
การต่อวงจรบนแผ่นโพโตบอร์ด
Flow Chart INT1103 Computer Programming
ภาษาโลโก เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่เหมาะสำหรับใช้ในการเรียนรู้ พัฒนาสติปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ ช่วยให้นักเรียนเข้าใจหลักการการเขียนโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรมจะสามารถลองผิดลองถูก.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
Actuator
การโปรแกรมPLC.
โดยเด็กหญิงประกอบ มีมูซอ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/8
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ภาษาโลโก(Logo).
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
บทที่ 5 ขับเคลื่อนหุ่นยนต์ IPST-BOT
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Microsoft Windows Logo
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 6 IPST-BOT กับการหลบหลีก สิ่งกีดขวางแบบสัมผัส
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
โครงการจัดทำชุดควบคุมก๊าซ LPG รั่วไหล แบบอัตโนมัติ ให้กับแหล่งจ่ายกลางก๊าซในโรงอาหาร โรงพยาบาลหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ หลักการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ สิ่งที่ทำให้หุ่นยนต์เกิดการเคลื่อนที่คือ การหมุนของล้อทั้ง 2 ข้าง โดยทิศทางการหมุนของล้อแต่ละข้างจะกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ การที่ล้อของหุ่นยนต์จะเกิดการหมุนได้นั้นต้องอาศัยอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานกลซึ่งก็คือ มอเตอร์

1. ฟังก์ชั่นมอเตอร์ alloff หรือ ao   ปิดการทำงานของมอเตอร์ทั้งหมด bk                    สั่งให้มอเตอร์หมุนกลับทิศทาง fd                     สั่งให้มอเตอร์หมุนตามทิศทาง init_expbd_servos   เอ็นเอเบิลการทำงานของวงจรทำงานของวงจรขับเซอร์โวมอเตอร์ motor             เลือกระดับพลังงานไฟฟ้าที่จ่ายให้แก่มอเตอร์  มีค่าในช่วง –100 ถึง 100 off                    ปิดการทำงานของมอเตอร์ตัวที่กำหนด

การขับเคลื่อนล้อหุ่นยนต์ เพื่อให้การอ้างถึงโปรแกรมควบคุมการขับเคลื่อนหุ่นยนต์เป็นแบบเดียวกันจึงขอกำหนดช่องขับล้อมอเตอร์ดังนี้ 1. ต่อมอเตอร์ล้อด้านซ้ายเข้ากับช่องขับ M-0 2. ต่อมอเตอร์ล้อด้านขวาเข้ากับช่องขับ M-1 แล้วทำการทดสอบด้วยโปรแกรมต่อไปนี้

โปรแกรมทดสอบมอเตอร์เพื่อปรับแต่งทิศทาง void main() { start_press(): motor(0,50); motor(1,50); stop_press(); ao(); }

3.หลักการขับเคลื่อนหุ่นยนต์เบื้องต้น 3.1 การขับเคลื่อนหุ่นยนต์ให้เดินหน้าตรง การขับเคลื่อนให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปข้างหน้าในทิศทางตรงทำได้โดยการสั่งให้มอเตอร์ล้อซ้ายและขวาหมุนไปข้างหน้าทั้งคู่โดยใช้คำสั่ง fd หรือ motor และสั่งหยุดมอเตอร์ได้ด้วยคำสั่ง off หรือ ao #define pow 50 void run_fd(float delay) { motor(0,pow); motor(1,pow); sleep(delay); }

3.2 การขับเคลื่อนหุ่นยนต์ให้ถอยหลังตรง การขับเคลื่อนให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ในทิศทางถอยหลังทำได้โดยการสั่งให้มอเตอร์ล้อซ้ายและขวาหมุนถอยหลังทั้งคู่โดยใช้คำสั่ง bk หรือ motor และสั่งหยุดมอเตอร์ได้ด้วยคำสั่ง off หรือ ao #define pow 50 void run_bk(float delay) { motor(0,-pow); motor(1,-pow); sleep(delay); }

3.3 การขับเคลื่อนหุ่นยนต์เลี้ยวซ้าย 3.3.1 ทำได้โดยการสั่งให้มอเตอร์ล้อซ้ายหมุนถอยหลังและล้อขวาหมุนไปข้างหน้า ซึ่งจะทำให้จุดศูนย์กลางการหมุนอยู่ที่กึ่งกลางลำตัวของหุ่นยนต์ #define pow 50 void turn_left(float delay) { motor(0,-pow); motor(1,pow); sleep(delay); }

3.3.2 ทำได้โดยการสั่งให้มอเตอร์ล้อซ้ายหยุดอยู่กับที่และล้อขวาหมุนไปข้างหน้า ซึ่งจะทำให้จุดศูนย์กลางการหมุนอยู่ที่ล้อซ้ายของหุ่นยนต์ #define pow 50 void turn_left2(float delay) { off(0); motor(1,pow); sleep(delay); }

3.4 การขับเคลื่อนหุ่นยนต์เลี้ยวขวา 3.4.1 ทำได้โดยการสั่งให้มอเตอร์ล้อซ้ายหมุนไปข้างหน้าและล้อขวาหมุนถอยหลัง ซึ่งจะทำให้จุดศูนย์กลางการหมุนอยู่ที่กึ่งกลางลำตัวของหุ่นยนต์ #define pow 50 void turn_right(float delay) { motor(0,pow); motor(1,-pow); sleep(delay); }

3.4.2 ทำได้โดยการสั่งให้มอเตอร์ล้อซ้ายหมุนไปข้างหน้าและล้อขวาหยุดอยู่กับที่ ซึ่งจะทำให้จุดศูนย์กลางการหมุนอยู่ที่ล้อซ้ายของหุ่นยนต์ #define pow 50 void turn_right2(float delay) { motor(0,pow); off(1); sleep(delay); }

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานกล 2. จงระบุการตั้งค่า+ - มอเตอร์ของล้อทั้ง2 - การขับเคลื่อนหุ่นยนต์ให้เดินหน้าตรง - การขับเคลื่อนหุ่นยนต์ให้ถอยหลังตรง - การขับเคลื่อนหุ่นยนต์เลี้ยวซ้าย - การขับเคลื่อนหุ่นยนต์เลี้ยวขวา 3.เขียนโปรแกรมควบคุมให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปข้างหน้า2วินาทีแล้วหยุดต่อด้วยเคลื่อนที่ถอยหลัง2 วินาที