รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 8 1. นายชนัตชัย ศรีสมาน รหัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เพราะความเป็นห่วง.
Advertisements

ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
สาระเทคการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ ๑
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
สารเมลามีน.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
การปลูกพืชกลับหัว.
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
โรคอุจจาระร่วง.
เครื่องดูดฝุ่น.
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
การใช้นมสดเพิ่มคุณภาพพืชผัก
เคล็ดลับ.....ถนอมเห็ดฟางให้กินได้นาน
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบเนื้อเยื่อชั้นผิวใบของพืชวงศ์ไม้ยาง(Dipterocarpacea) บางชนิดในประเทศไทย.
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
อาหารเป็นพิษ จังหวัดเชียงใหม่
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
การเจริญเติบโตของพืช
ห้องรับแขกที่ดูสบายตา
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 8 1. นายชนัตชัย ศรีสมาน รหัส 4802063 1. นายชนัตชัย ศรีสมาน รหัส 4802063 2. นางสาวพัชรา สายแปง รหัส 4802070 3. นางสาวพิมพ์พรรณ รัจรัญ รหัส 4802072 4. นางสาววิจิตตรี ภักดี รหัส 4802078 5. นางสาวสนธยา พฤกษ์ทยานนท์ รหัส 4802079

จำแนกตามความแตกต่างด้านพฤกษศาสตร์ (Botanical classification) ผัก ( Vegetable ) จำแนกตามความแตกต่างด้านพฤกษศาสตร์ (Botanical classification)  จำแนกตามสภาพอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโต ( Classification based on hardiness) พืชที่สามารถทนต่ออากาศหนาวเย็น (hardly vegetable) พืชที่ทนต่ออากาศต่ออากาศหนาวเย็นได้บ้าง (semi-hardly vegetable) พืชผักที่ไม่ทนต่อความหนาวเย็น (tender vergetable)

ผัก (ต่อ) จำแนกตามส่วนต่างๆของลำดับที่นำมาใช้เป็นอาหาร (Classification based on parts used) ส่วนที่อยู่ใต้ดิน ส่วนของลำต้นและใบ ส่วนของดอกไม้และช่อดอก ส่วนของผล ส่วนของเมล็ด เห็ดต่างๆ

จิงจ้อดอกขาว   จิงจ้อดอกแดง   เจตมูลเพลิงแดง ชา   ชำมะเรียง ต้างหลวง   งิ้ว ต๋าว ถั่วมะแฮะ   ถั่วลันเตา   เถากระทุ้งลาย   ทองหลางใบมน นางแย้มป่า   กระทือป่า

อันตรายจากพืชผัก พิษภัยในอาหาร แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. จากพิษของเชื้อจุลินทรีย์ เกิดจากเชื้อบักเตรี ที่เข้าไปปนเปื้อนในอาหาร มีการเจริญเติบโตในอุณหภูมิ และความชื้นที่เหมาะสม มีการสร้างสารพิษที่เป็นอันตรายขึ้นมา โรคที่เกิดจากสารพิษของบักเตรีที่สำคัญ ได้แก่ * พิษจากเชื้อสแตฟฟีโลคอคคัส * พิษจากเชื้อคลอสติเดียม โบทูลินั่ม 2. จากสารพิษในอาหารตามธรรมชาติ โดยธรรมชาติแล้ว พืชบางชนิดจะมีพิษอยู่ในตัวของมันเอง หรือมีพิษจากการปนเปื้อนสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ ทำให้เกิดเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้ 3. จากสารพิษที่พืชสร้างขึ้น

การเก็บผัก เก็บในตู้เย็น อุณหภูมิ 0-1 องศาเซลเซียส พร้อมทั้งใส่ถุงที่สะอาด เก็บไว้นอกตู้เย็นในภาชนะที่โปร่งสะอาด สูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 75 เซนติเมตร มีการระบายอากาศที่ดี ไม่อับชื้น มีสิ่งปกปิดเพื่อป้องกันฝุ่นละออง และสัตว์นำโรค

การลดพิษจากผัก อย่าเลือกซื้อผักที่มีใบสวยงาม ควรเลือกซื้อผักที่มีรูพรุน ควรล้างผักให้สะอาดโดยใช้โซเดียมคาร์บอเนต 1 ช้อนโต๊ะ ต่อ น้ำอุ่น 20 ลิตร แช่ทิ้งไว้นาน 15 นาที ลดพิษได้ถึง 90-95% แช่ผักในน้ำผสมน้ำส้มสายชู โดยใช้ความเข้มข้นของน้ำส้ม 0.5% คือ น้ำส้ม 1 ขวด ต่อน้ำ 4 ลิตร แช่ผักที่เด็ดแล้วประมาณ 15 นาที ลดพิษได้ 60-84 % แช่ในน้ำยาล้างผัก ความเข้มข้นประมาณ 0.3% ในน้ำ 4 ลิตร นาน 15 นาที ลดพิษได้ 54-84%

การลดพิษจากผัก (ต่อ) เปิดก๊อกให้น้ำไหลผ่าน นำผักใส่ตระแกรงแล้วเปิดน้ำผ่านแรงๆ นาน 2 นาที ลดสารพิษได้ 54-63% แช่ผักในน้ำสะอาด 15 นาที ลดปริมาณสารได้ 7-33% ลวกผักด้วยน้ำร้อน ลดสารพิษได้ 50% การปอกเปลือก หรือการลอกชั้นนอกสุดของผักออก ใช้ผงปูนคลอรีนแช่ผัก เพื่อฆ่าเชื้อโรคและไข่พยาธิ โดยใช้ปูนคลอรีนครึ่งช้อนชาต่อน้ำ 20 ลิตร แช่นาน 15-30 นาที จะฆ่าเชื้อโรคได้ดีมาก

อ้างอิง พิษจากพืช สัตว์ และจุลชีพ รวบรวมจากการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 1 เรื่อง " พิษจากพืช สัตว์ และจุลชีพ" 28-29 มีนาคม 2531 โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ อาหารและมะเร็ง, รองศาสตราจารย์ ดร.ไมตรี สุทธจิตต์ และ อาจารย์ศิริวรรณ สุทธจิตต์, โรงพิมพ์พระสิงห์การพิมพ์; เชียงใหม่ หลักการผลิตผัก: ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมภพ ฐิตะวสันต์, ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร์