การประชุมซักซ้อมและเตรียมการ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 ระดับศูนย์สอบและสนามสอบ จังหวัดนครราชสีมา
จัดทำคู่มือการระดับสนามสอบ และกรรมการคุมสอบ 1.คู่มือการจัดสอบระดับสนามสอบและกรรมการคุมสอบ สำหรับหัวหน้าสนามสอบและกรรมการกลาง 2.คู่มือการจัดสอบสำหรับกรรมการคุมสอบ สำหรับกรรมการคุมสอบ
เอกสารในซอง -ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) -ใบเซ็นชื่อติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ -ใบเซ็นชื่อติดหน้าห้องสอบ -แผนผังที่นั่งสอบ -ดินสอ สำหรับนักเรียนชั้น ป.6
วัตถุประสงค์ของการประชุม เพื่อให้สนามสอบมีความเข้าใจวิธีการในการจัดสอบ O-NET อย่างชัดเจน หัวหน้าสนามสอบกลับไปจัดประชุมคณะทำงานระดับสนามสอบและกำกับให้การจัดสอบในสนามสอบมีความยุติธรรมโปร่งใสและได้มาตรฐาน คณะทำงานระดับสนามสอบเข้าใจและปฏิบัติถูกต้องตามคู่มือ การจัดสอบ 0-NET ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนในสังกัด ทน.นครนครราชสีมา จำนวน 5 โรงเรียน การสอบ O-NET ในวันที่ 31 มกรคม 2558 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีจำนวน 17 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทน.นครนครราชสีมา จำนวน 5 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทม.บัวใหญ่ จำนวน 3 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทม.ปากช่อง จำนวน 2 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทต.หนองไผ่ล้อม จำนวน 1 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทต.โนนสูง จำนวน 3 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทต.หนองหัวฟาน จำนวน 1 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทต.โนนแดง จำนวน 1 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทต.ตลาดแค จำนวน 1 โรงเรียน
- โรงเรียนในสังกัด อบจ. จำนวน 57 โรงเรียน การสอบ O-NET ในวันที่ 31 มกราคม 2558- 1กุมภาพันธ์ 2558 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีจำนวน 71 โรงเรียน - โรงเรียนในสังกัด อบจ. จำนวน 57 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทน.นครนครราชสีมา จำนวน 6 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทม.บัวใหญ่ จำนวน 3 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทม.ปากช่อง จำนวน 1 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทต.หนองไผ่ล้อม จำนวน 1 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัด ทต.โนนสูง จำนวน 3 โรงเรียน ประกาศคะแนน ระดับ ป.6 วันที่ 15 มีนาคม 2558 ระดับ ม.3 วันที่ 16 มีนาคม 2558 ผ่านเว็บไซต์ สทศ. www.nits.or.th เมนู O-net -ระดับโรงเรียน ใช้ Username และ Password -ระดับบุคคล ใช้เลขบัตรประจำตัวประชาชน
การเตรียมการก่อนสอบ แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินการทดสอบฯ คณะกรรมการดำเนินการทดสอบฯ ระดับสนามสอบ และตัวแทนศูนย์สอบ ตามคำสั่งที่ 379/2558 ลงวันที่ 19 มกราคม 2558 การเปลี่ยนแปลงรายชื่อฯ ขอให้ส่ง สนง.ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดนครราชสีมา ภายใน วันที่ 29 มกราคม 2558 -ทางโทรสาร 044-248496, 044-248803,044-245520,044-256608 ต่อ 66 หรือE-mail :0037.3koratlocal@gmail.com (หน.สนามสอบ รายงานพร้อมลงนาม)
การแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ หัวหน้าสนามสอบ •เป็นประธานศูนย์เครือข่าย/ ผู้อำนวยการโรงเรียน หรือผู้ที่ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งตามความเหมาะสม หัวหน้าสนามสอบ กรรมการกลาง •อัตรา 1 คน : 3 ห้องสอบ (ในกรณีจำนวนห้องสอบตั้งแต่ 3 ห้องขึ้นไป) าง กรรมการคุมสอบ •อัตรา 2 คน : 1 ห้องสอบ ต้องไม่คุมสอบนักเรียนตนเอง และทั้งสองคนต้องมาจากต่างโรงเรียนกัน นักการภารโรง •อัตรา 1 คน : 5 ห้องสอบ
ขั้นตอนการ รับ – ส่ง แบบทดสอบ สถ.จ.นม. รับข้อสอบจาก สทศ. เพื่อส่งมอบให้แก่หัวหน้าสนามสอบหรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย และให้เก็บรักษาแบบทดสอบไว้เพื่อให้การดำเนินการ จัดสอบของสนามสอบเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ ยุติธรรม และโปร่งใสต่อไป คำสั่งจังหวัดฯ ที่ 379 /2558 ลงวันที่ 19 มกราคม 2558 ที่แจ้งไป อ.เมือง/อ.โนนสูง/อ.ขามสะแกแสง /อ.โนนแดง/อบจ./ทน.นครฯ/ ทม.ปากช่อง/ทม.บัวใหญ่ แล้ว และสามารถสืบค้นรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดนครราชสีมา www.koratdla.go.th
สถานที่รับ-ส่งแบบทดสอบ ห้องประชุมอาคาร 1 ชั้นล่าง โรงเรียนเทศบาล 4(เพาะชำ) 263 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ห้องประชุมอาคาร 1 ชั้นล่าง
ขั้นตอนการรับ-ส่ง แบบทดสอบ O-NET ของระดับประถมศึกษาที่ 6 หัวหน้าสนามสอบรับข้อสอบ ในวันศุกร์ที่ 30 มกราคม 2558 ตั้งแต่เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมฯ โรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะชำ) เพื่อนำไปเก็บรักษาในสถานที่ปลอดภัยก่อนการสอบ (ให้แต่งตั้ง/มอบหมายเจ้าหน้าที่รักษาข้อสอบ) สำหรับสถานที่ในการส่งแบบทดสอบเป็นสถานที่เดียวกันกับรับข้อสอบ เริ่มตั้งแต่เวลา 15.50 -18.30 น. ในวันเสาร์ ที่ 31 มกราคม 2558
ขั้นตอนการรับ-ส่งแบบทดสอบ O-NET ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 หัวหน้าสนามสอบ รับข้อสอบในศุกร์วันที่ 30 มกราคม 2558ตั้งแต่เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมฯ โรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะชำ) เพื่อนำไปเก็บรักษาในสถานที่ปลอดภัยก่อนการสอบ (ให้แต่งตั้ง/มอบหมายเจ้าหน้าที่รักษาข้อสอบ) สถานที่ส่งแบบทดสอบเป็นสถานที่เดียวกันกับรับข้อสอบ เริ่มตั้งแต่ เวลา 15.30-18.30 น. ในวันเสาร์ที่ 31 มกราคม 2558 และรับแบบทดสอบของการสอบวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 ส่งแบบทดสอบในวันอาทิตย์ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 15.15-18.30 น.
การจัดห้องสอบ 1.นักเรียน 30 คน : 1 ห้องสอบ 2.ห้องสุดท้าย สามารถจัดได้ไม่เกิน 35 คน
การจัดห้องสอบ o-net ตามแนวทางของ สทศ. โต๊ะกรรมการ ๑ ๑ ๑๒ ๑๓ ๒๔ ๒๕ ๒ ๑๑ ๑๔ ๒๓ ๒๖ ๓ ๑๐ ๒๒ ๒๗ ๑๕ ๔ ๙ ๒๑ ๑๖ ๒๘ ๕ ๘ ๒๐ ๑๗ ๒๙ ๖ ๗ ๑๘ ๑๙ ๓๐ โต๊ะกรรมการ ๒
ลักษณะกระดาษคำตอบ o-net กระดาษคำตอบใหญ่กว่าแบบทดสอบ ป.6 ใช้กระดาษคำตอบ 4 แผ่น แผ่นที่ รหัสวิชา วิชาที่สอบ 1 65 62 คณิตศาสตร์ สังคมศึกษาฯ 2 61 63 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ 3 วิทยาศาสตร์ 4 66/67/68 สุขศึกษา/ศิลปะ/การงานอาชีพและเทคโนโลยี
1. วิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา 64 และวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา 62 กระดาษคำตอบ ระดับ ป.6 ใช้กระดาษคำตอบ ร่วมกัน คือ 1 แผ่น ใช้สอบ 2 วิชา ได้แก่ 1. วิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา 64 และวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา 62 2. วิชาภาษาไทย รหัสวิชา 61 และวิชาภาษาอังกฤษ รหัสวิชา 63 ----------------------------------------------------------------- กระดาษคำตอบ ระดับ ม.3 ใช้กระดาษคำตอบ 1 แผ่นต่อ 1 วิชา ยกเว้นวิชาสุขศึกษาฯ ศิลปะ และการงานอาชีพฯ (กระดาษคำตอบ 1 แผ่น ใช้ตอบ 3 วิชา)
ลักษณะกระดาษคำตอบ o-net กระดาษคำตอบใหญ่กว่าแบบทดสอบ ม.3 ใช้กระดาษคำตอบ 6 แผ่น แผ่นที่ รหัสวิชา วิชาที่สอบ 1 94 คณิตศาสตร์ 2 91 ภาษาไทย 3 93 ภาษาอังกฤษ 4 95 วิทยาศาสตร์ 5 92 สังคมศึกษาฯ 6 96/97/98 สุขศึกษา/ศิลปะ/การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชาที่สอบ o-net (ป.6) วันเสาร์ที่ 31 มกราคม 2558 เวลาสอบ รหัสวิชา วิชาที่สอบ(ป.๖) 08.30-09.20 64 คณิตศาสตร์ เวลาสอบ 50 นาที 09.20-10.10 62 สังคมศึกษาฯ เวลาสอบ 50 นาที 10.30-11.20 61 ภาษาไทย เวลาสอบ 50 นาที 11.20-12.10 63 ภาษาอังกฤษ เวลาสอบ 50 นาที 13.10-14.00 65 วิทยาศาสตร์ เวลาสอบ 50 นาที 14.20-14.50 14.50-15.20 15.20-15.50 66 67 68 สุขศึกษาและพลศึกษา เวลาสอบ 30 นาที ศิลปะ เวลาสอบ 30 นาที การงานอาชีพฯ เวลาสอบ 30 นาที ช่วงชั้นที่ ๒(ป.๖)
วิชาที่สอบ o-net (ม.3) วันเสาร์ที่ 31 มกราคม 2558 เวลา รหัสวิชา วิชาที่สอบ(ม.๓) 08.30-10.00 94 คณิตศาสตร์ เวลาสอบ 90 นาที 10.30-12.00 91 ภาษาไทย เวลาสอบ 90 นาที 13.00-14.30 93 ภาษาอังกฤษ เวลาสอบ 90 นาที
วิชาที่สอบ o-net (ม.3) วันอาทิตย์ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 08.30-10.00 95 เวลา รหัสวิชา วิชาที่สอบ(ม.๓) 08.30-10.00 95 วิทยาศาสตร์ เวลาสอบ 90 นาที 10.30-12.00 92 สังคมศึกษาฯ เวลาสอบ 90 นาที 13.00-13.40 13.40-14.20 14.20-15.00 96 97 98 สุขศึกษาและพลศึกษา เวลาสอบ 40 นาที ศิลปะ เวลาสอบ 40 นาที การงานอาชีพฯ เวลาสอบ 40 นาที
ข้อแตกต่างของการดำเนินงานปี 2557 กับปีที่ผ่านมา สทศ.เตรียมซองกระดาษคำตอบสำหรับผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (สทศ.3) โดยเฉพาะไม่ต้องไปใส่รวมกับกระดาษคำตอบในห้องสอบสุดท้าย เพื่อป้องกันกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบกรณีพิเศษสูญหายหรือสนามสอบส่งมาไม่ครบถ้วนมา
การดำเนินงานของกรรมการคุมสอบ 1.รายงานตัวต่อหัวหน้าสนามสอบ 2.รับซองแบบทดสอบและซองกระดาษคำตอบ ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) (2 แผ่น/วิชา) ตรวจสอบ - ซองแบบทดสอบชำรุดและ - มีการเปิดซองแบบทดสอบหรือไม่ - ตรงกับวิชาที่สอบ (หน้า 20)
ก่อนเวลาสอบ 20 นาที ตรวจสอบความเรียบร้อยภายในห้องสอบ เช่น บอร์ดนิทรรศการ อุปกรณ์หนังสือเรียน รวมทั้งสิ่งสนับสนุนที่มีเนื้อหาที่อาจส่งผล ต่อความไม่ยุติธรรมในการสอบ หากพบเห็นให้แจ้งหัวหน้าสนามสอบเพื่อดำเนินการแก้ไข
ก่อนเวลาสอบ 15 นาที ให้กรรมการคุมสอบยืนประจำประตูเพื่อตรวจหลักฐาน ของผู้เข้าห้องสอบ 1.ตรวจดูบัตรประจำตัวประชาชน/บัตรประจำตัวนักเรียน หากไม่มีติดต่อหัวหน้าสนามสอบ 2.ตรวจดูรูปในบัตรประจำตัวประชาชน/บัตรประจำตัวนักเรียน เป็นบุคคลเดียวกัน อนุญาตให้เข้าห้องสอบ 3.ตรวจดูอุปกรณ์ของผู้เข้าสอบ ปากกา ดินสอ 2B ยางลบ 4.แจ้งให้ผู้เข้าสอบนั่งที่โต๊ะให้ตรงตามรายชื่อและหมายเลขที่นั่งสอบ โดยดูจากสติ๊กเกอร์บนโต๊ะและแผนที่นั่งสอบหน้าห้อง
ก่อนเวลาสอบ 10 นาที 1.แจ้งตารางสอบ ระเบียบการสอบ และแจ้งให้ผู้เข้าสอบใช้ปากกาในการกรอกข้อมูลและใช้ดินสอ 2B ในการระบาย และใช้ยางลบลบให้สะอาดตรงข้อที่ไม่ต้องการ 2.นำซองบรรจุแบบทดสอบให้ผู้เข้าสอบเห็นว่าอยู่ในสภาพเรียบร้อย เชิญ ผู้เข้าสอบ 2 คน ลงชื่อยืนยันความเรียบร้อยของซองแบบทดสอบ ในแบบ สทศ.2 ทั้ง 2 แผ่น 3.แจกกระดาษคำตอบ ตามลำดับที่นั่งสอบ เป็นรูปตัว U อย่างเคร่งครัด (เรียงจากเลขที่นั่งสอบจากน้อยไปหามาก)
5.แจ้งผู้เข้าสอบทุกคนปฏิบัติพร้อมกัน -1.ตรวจสอบรายชื่อบนกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบว่าตรงกับ ผู้เข้าสอบและข้อมูลต่างๆ บนหัวหระดาษคำตอบว่าถูกต้อง (หากไม่ตรงให้แจ้งกรรมการคุมสอบทันที) -2.ลงลายมือชื่อในช่อง ลายมือชื่อผู้เข้าสอบ -3.หากผู้เข้าสอบพบข้อมูลบางส่วนไม่ถูกต้องให้แจ้งแก้ไขข้อมูล โดยใช้แบบขอแก้ไขข้อมูล (สทศ.6 ) 6.กรรมการคุมสอบคนที่ 1 ลงลายมือชื่อในช่อง ลายมือชื่อกรรมการคุมสอบ
ก่อนเวลาสอบ 5 นาที 1.แจกแบบทอดสอบ โดยยังไม่ให้ผู้เข้าสอบเปิดแบบทดสอบ แบบทดสอบ 6 ชุด มีความแตกต่างกันและมีรหัสชุดข้อสอบ ระบุบริเวณหน้าปกแบบทดสอบ ซึ่งแบบทดสอบทั้ง 6 ชุดได้เรียงสลับชุดไว้เป็นที่เรียบร้อย กรรมการคุมสอบต้องแจกแบบทดสอบตามลำดับเป็นรูป ตัว U อย่างเคร่งครัด (เรียงจากเลขที่นั่งสอบจากน้อยไปหามาก) 2.ให้ผู้เข้าสอบกรอกรายชื่อและเลขที่นั่งสอบบนหน้าปกแบบทดสอบด้วยปากกา 3.แจ้งผู้เข้าสอบดูรหัสชุดข้อสอบบนหน้าปกแบบทดสอบ และระบายรหัสชุดข้อสอบบนกระดาษคำตอบด้วยดินสอดำ 2B ให้ถูกต้อง (ไม่ระบายชุดข้อสอบจะไม่มีคะแนนในวิชานั้นๆ)
ผู้เข้าสอบไม่ได้กรอกรายชื่อบนปกแบบทดสอบ
แบบทดสอบมีรหัสชุดข้อสอบแตกต่างกัน 6 ชุด ในแต่ละวิชาและ สทศ แบบทดสอบมีรหัสชุดข้อสอบแตกต่างกัน 6 ชุด ในแต่ละวิชาและ สทศ. ได้จัดเรียงสลับชุดไว้แล้ว ให้กรรมการคุมสอบแจกให้ผู้เข้าสอบตามลำดับที่นั่งสอบเป็นรูปตัว U
โต๊ะกรรมการ ๑ ๑ ๑๒ ๑๓ ๒๔ ๒๕ ๒ ๑๑ ๑๔ ๒๓ ๒๖ ๓ ๑๐ ๒๒ ๒๗ ๑๕ ๔ ๙ ๒๑ ๑๖ ๒๘ ๕ ๘ ๒๐ ๑๗ ๒๙ ๖ ๗ ๑๘ ๑๙ ๓๐ โต๊ะกรรมการ ๒
เมื่อถึงเวลาสอบ 1.แจ้งผู้เข้าสอบเปิดแบบทดสอบ 2.นับจำนวนหน้าแบบทดสอบว่าครบถ้วนหรือข้อความพิมพ์ไม่ชัดเจน ให้แจ้งกรรมการคุมสอบเพื่อเปลี่ยนแบบทดสอบฉบับใหม่ 3.ประกาศให้ผู้เข้าสอบอ่านคำชี้แจงให้เข้าใจและเริ่มทำแบบทดสอบ เน้นย้ำให้ระบายคำตอบด้วยดินสอดำ 2B เท่านั้น
หลังจากการสอบผ่านไปแล้ว 30 นาที 1.กรรมการคุมสอบนำใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (แบบ สทศ.2) ทั้ง 2 แผ่นให้ผู้เข้าสอบลงลายมือชื่อด้วยปากาก เน้นย้ำให้เซ็นชื่อให้เหมือนกับกระดาษคำตอบ (สทศ.1) 2.ให้กรอกรหัสชุดข้อสอบที่ได้รับลงในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ(สทศ.2) 3.ในระหว่างที่ผู้เข้าสอบลงลายมือชื่อ กรรมการคุมสอบตรวจสอบการระบายรหัสชุดข้อสอบเพื่อความถูกต้อง เพื่อป้องกันการระบายรหัสชุดข้อสอบผิด กรรมการคุมสอบคนที่ 2 ลงลายมือชื่อในช่องกรรมการคุมสอบ 4.เก็บแบบทดสอบและกระดาษคำตอบของนักเรียนที่ขาดสอบคืน 5.ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าสอบที่มาสายเกิน 30 นาทีเข้าห้องสอบ ผู้เข้าสอบที่มาสาย แต่ไม่เกิน 30 นาทีหลังจากเริ่มสอบ ไม่ว่ากรณีใดๆ จะไม่ได้รับการต่อเวลาสำหรับการสอบในวิชานั้นๆ
ผู้เข้าสอบที่มาสายเกิน 30 นาทีหลังจากเริ่มสอบ -ให้ติดต่อ หน.สนามสอบเพื่อพิจารณา หากมาสายด้วยเหตุสุดวิสัยให้เขียนคำร้อง ในแบบ สทศ.5 รายการการปฏิบัติผิดระเบียบการสอบ ก่อนอนุญาตให้เข้าห้องสอบ ส่วนการประกาศคะแนนให้อยู่ในดุลยพินิจของ สทศ.
ในระหว่างสอบผู้เข้าสอบจะต้องนั่งภายในห้องสอบจนหมดเวลาสอบ การออกจากห้องสอบโดยไม่ได้รับอนุญาตถือเป็นการส่อทุจริตและกระทำผิดระเบียบการสอบ
ผู้เข้าสอบออกจากห้องสอบก่อนหมดเวลาสอบ -ให้กรรมการคุมสอบเขียนรายงานแจ้ง หน.ห้องสอบ เพื่อส่ง สทศ.ในการพิจารณาเรื่องการประกาศผลคะแนนให้กับผู้เข้าสอบดังกล่าว หมดเวลาสอบ -ให้ผู้เข้าสอบวางปากกาหรือดินสอและหยุดทำแบบทดสอบ วางกระดาษคำตอบบนแบบทดสอบและห้ามลุกจากที่นั่งจนกว่ากรรมการคุมสอบจะอนุญาต
การเก็บกระดาษคำตอบ 1.ตรวจสอบการกรอกข้อมูลของผู้เข้าสอบบนปกแบบทดสอบ การกรอกข้อมูลและการระบายบนหัวกระดาษคำตอบให้ครบถ้วนและถูกต้อง 2.กรรมการคุมสอบคนที่ 1 เก็บแบบทดสอบ กรรมการคุมสอบคนที่ 1 เก็บกระดาษคำตอบ เก็บกระดาษคำตอบคืนทุกแผ่นเรียงตามลำดับเลขที่นั่งสอบจากผู้เข้าสอบคนที่ 1 ถึงคนที่ 30 ตามผังที่นั่งสอบเป็นรูปตัว U 3.ตรวจสอบความถูกต้องของใบเซ็นชื่อของผู้เข้าสอบ(สทศ.2) ทั้ง 2 แผ่น และกรอกข้อมูลให้ตรงกัน
4. ตรวจนับกระดาษคำตอบเทียบกับใบเซ็นชื่อของผู้เข้าสอบ (สทศ 4.ตรวจนับกระดาษคำตอบเทียบกับใบเซ็นชื่อของผู้เข้าสอบ (สทศ.2) พร้อมตรวจสอบการกรอกข้อมูล การระบายรหัสชุดข้อสอบ 5.หุ้มด้วยใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ(สทศ.2) (ใบที่ระบุ “สำหรับสนามสอบใช้หุ้มกระดาษคำตอบและส่งคืน สทศ.) 6.ใช้กระดาษแข็งปิดด้านบน-ด้านล่าง บรรจุลงในซองกระดาษคำตอบ 7.กรอกข้อมูลลงในกระดาษคำตอบให้เรียบร้อย ลงลายมือชื่อให้เรียบร้อย 8.ไม่ต้องปิดผนึกซองกระดาษคำตอบ 9.นำซองแบบทดสอบ ซองกระดาษคำตอบและเอกสารการสอบ ส่งกรรมการกลาง/หัวหน้าสนามสอบ
การเก็บกระดาษคำตอบ 1.กรณีมีผู้ขาดสอบให้เก็บกระดาษคำตอบของผู้ขาดสอบส่งคืน สทศ. โดยเรียงรวมอยู่กับกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบเรียงตามลำดับ เลขที่นั่งสอบ 2.กรณีมีการยกเลิกกระดาษคำตอบแบบลงข้อมูลและใช้กระดาษคำตอบสำรอง ให้นำกระดาษที่ถูกยกเลิกของผู้เข้าสอบนั้นเรียงต่อจากการดาษคำตอบสำรองที่ผู้เข้าสอบนั้นใช้
กรณีมีผู้ขาดสอบ 1.เขียนคำว่าขาดสอบ ด้วยปากกาสีแดง ลงในช่อง ลายมือชื่อผู้เข้าสอบ ในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) ทั้ง 2 แผ่น 2.ให้ระบายในช่อง ข “ขาดสอบ” ด้วยดินสอดำ 2 B บนกระดาษคำตอบ (สทศ.1) 3.ลงลายมือชื่อคณะกรรมการคุมสอบทั้ง 2 คน บนกระดาษคำตอบของผู้ขาดสอบ 4.เก็บกระดาษคำตอบเรียงตามลำดับเลขที่นั่งสอบใส่รวมกับกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบและส่งให้ สทศ.
กรณีกระดาษคำตอบลงข้อมูลไม่ตรงกับผู้เข้าสอบหรือชำรุด ฉีกขาด 1.ใช้ดินสอดำ 2 B ระบายในชอง ย “ยกเลิก” ในกระดาษคำตอบ 2.ลงลายมือคณะกรรมการทั้ง 2 คน 3.นำกระดาษสำรองมาให้ผู้เข้าสอบ กรอกข้อมูล - ชื่อ-สกุล /เลขบัตรประชาชน/ ชื่อสนามสอบ /ห้องสอบ /วันที่สอบ ด้วยปากกา -เลขที่นั่งสอบ ด้วยปากกา -ระบายเลขที่นั่งสอบ ด้วยดินสอ 2B -ลงลายมือในช่อง “ลายมือชื่อผู้เข้าสอบ” (นำกระดาษคำตอบที่ยกเลิกของผู้เข้าสอบเรียงต่อจากกระดาษคำตอบสำรองที่ผู้เข้าสอบใช้)
ซองกระดาษคำตอบ ภายในประกอบด้วย 1.กระดาษคำตอบที่มีจำนวนครบถ้วน (ผู้เข้าสอบ + ผู้ขาดสอบ) ตามใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) 2.ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) จำนวน 1 แผ่น ที่ใช้หุ้มกระดาษคำตอบ ในระดับ ป.6 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ(สทศ.2) จะมี 2 แผ่น ตามวิชาที่สอบ 3.เทปกาวพิเศษแบบทำลายตนเอง
- ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ(สทศ - ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ(สทศ.2) ระบุ “สำหรับสนามสอบส่งคืนศูนย์สอบ ศูนย์สอบเก็บไว้ และใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (สทศ.3) (ถ้ามี) -เอกสาร อื่นๆ ถ้ามี เช่น แบบฟอร์มสำหรับผู้ปฏิบัติผิดระเบียบการสอบ (สทศ.5) และฟอร์มคำขอแก้ไขข้อมูล (สทศ.6) -ซองแบบทดสอบ (บรรจุที่มีจำนวนครบถ้วนตามที่ระบุในหน้าซองแบบทดสอบ)
- กรรมการกลางตรวจนับจำนวน และความถูกต้องของกระดาษคำตอบให้เรียบร้อย จึงปิดผนึกซองกระดาษคำตอบและปิดทับด้วยเทปกาวพิเศษแบบทำลายตนเองทันที แล้วจึงลงชื่อส่งกระดาษคำตอบ - กรรมการกลางตรวจนับแบบทดสอบและเอกสารอื่นๆ ลงลายมือชื่อใบบัญชีรับส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบระหว่างหัวหน้าสนามสอบ/กรรมการคุมสอบ/กรรมการกลางกับกรรมการคุมสอบ (O-NET 1)
สนามสอบรวบรวมเอกสารส่งศูนย์สอบ 1.ซองกระดาษคำตอบ ที่ครบถ้วนตามใบ สทศ.2 ปิดทับด้วยเทปกาวพิเศษ บรรจุในกล่องสำหรับใส่ซองกระดาษคำตอบกลับ (1 กล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบได้ประมาณ 15 ซอง) แยกตามรายวิชา 2.ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) (ระบุ “สนามสอบส่งคืนศูนย์สอบ) 3.แบบฟอร์มต่างๆ -บัญชีรับส่งแบบทดสอบ กระดาษคำตอบ(ระหว่าง หน.สนามสอบและกรรมการคุมสอบ ( แบบ o-net 1) -บัญชีรับกล่องแบบทดสอบและเอกสารฯ จาก หน.สนามสอบถึงศูนย์สอบ ( แบบ o-net 2) -แบบคำขอแก้ไขข้อมูล (สทศ.6) -รายงานผลการปฏิบัติงาน ( แบบ o-net 5)
-เอกสารการกำกับการเปิดซองบรรจุแบบทดสอบ ( แบบ o-net 10) -รายงานสรุปผลการดำเนินการจัดสอบฯ ระดับสนามสอบ -ใบสำคัญรับเงินค่าเบี้ยเลี้ยง ( แบบ o-net 8) 4.แบบทดสอบบรรจุใส่ซองแยกตามห้องสอบบรรจุใส่กล่อง
แนวปฏิบัติในการแจกและเก็บแบบทดสอบสำหรับระดับชั้น ป.6 วิชาคณิตศาสตร์กับวิชาสังคมศึกษา ใช้กระดาษคำตอบแผ่นเดียวกัน วิชาภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ ใช้กระดาษคำตอบแผ่นเดียวกัน การสอบช่วงที่ ช่วงดำเนินการ กรรมการคุมสอบคนที่ 1 กรรมการคุมสอบคนที่ 2 ช่วงที่ 1 คณิตศาสตร์ 08.30-09.20 น. สังคมศึกษาฯ 09.20-10.10 น. ก่อนหมดเวลาสอบวิชาคณิตศาสตร์ 20 นาที (09.00 น.) รับซองแบบทดสอบ และแจกแบบทดสอบวิชาสังคมศึกษา (โดยไม่รบกวนผู้เข้าสอบ) และห้ามนักเรียนเปิดแบบทดสอบก่อนถึงเวลาสอบวิชาสังคมศึกษา โดยเด็ดขาด เวลา 09.20 น. ให้เริ่มทำแบบทดสอบวิชาสังคมศึกษาฯ เก็บแบบทดสอบวิชาคณิตศาสตร์กลับคืน นับให้ครบตามจำนวนที่ระบุหน้าซองแล้วบรรจุซองให้เรียบร้อย หมดเวลาสอบวิชาสังคมศึกษา กรรมการช่วยกันเก็บแบบทดสอบและกระดาษคำตอบแล้วตรวจสอบความเรียบร้อย แล้วให้กรรมการทั้ง 2 คน นำไปส่งที่ห้องกรรมการกลาง
แนวปฏิบัติในการแจกและเก็บแบบทดสอบสำหรับ ป.6 (ช่วงที่ 2) แนวปฏิบัติในการแจกและเก็บแบบทดสอบสำหรับ ป.6 (ช่วงที่ 2) การสอบช่วงที่ ช่วงดำเนินการ กรรมการคุมสอบคนที่ 1 กรรมการคุมสอบคนที่ 2 ช่วงที่ 2 ภาษาไทย 10.30-11.20 น. ภาษาอังกฤษ 11.20-12.10 น. ก่อนหมดเวลาสอบวิชาภาษาไทย 20 นาที (11.00 น.) รับซองแบบทดสอบและแจกแบบทดสอบวิชาภาษาอังกฤษ(โดยไม่รบกวนผู้เข้าสอบ) และห้ามนักเรียนเปิดแบบทดสอบก่อนถึงเวลาสอบภาษาอังกฤษ โดยเด็ดขาด เวลา 11.20 น. ให้เริ่มสอบวิชาภาษาอังกฤษ และ เก็บแบบทดสอบวิชาภาษาไทยกลับคืน นับให้ครบตามจำนวนที่ระบุหน้าซองแล้วบรรจุซอง ให้เรียบร้อย หมดเวลาสอบวิชาภาษาอังกฤษ กรรมการช่วยกันแบบทดสอบและกระดาษคำตอบแล้วตรวจสอบความเรียบร้อย แล้วให้กรรมการทั้ง 2 คน นำไปส่งที่ห้องกรรมการกลาง
ระเบียบการเข้าห้องสอบ 1.ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ 2.ไม่มีบัตรแสดงตน ไม่มีสิทธิ์สอบ 3.ไปผิดสนาม ไม่มีสิทธิ์สอบ 4.ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบในวิชานั้น 5.ห้าม นำเครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารเข้าห้องสอบ 6.ให้นั่งสอบจนหมดเวลา 7.อนุญาตให้นำนาฬิกาเข้าห้องสอบ (ต้องเป็นนาฬิกาธรรมดา ที่ใช้ดูเวลาเท่านั้น)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำข้อสอบ 1.ปากกา ใช้สำหรับกรอกรายละเอียดต่างๆ บนหัวกระดาษคำตอบ 2.ดินสอดำ 2B ใช้สำหรับระบายรหัสวิชา เลขที่นั่งสอบ และคำตอบที่ต้องการเลือก ( ป.6 สทศ.จัดส่งให้) 3.ยางลบ ( ป.6 สทศ.จัดส่งให้)
หลักฐานที่ใช้ในการเข้าห้องสอบ 1.บัตรประจำตัวนักเรียนที่มีรูป หรือ 2.บัตรประจำตัวประชาชน หรือ 3.หลักฐานอย่างอื่นที่สามารถใช้แสดงตัวตนของนักเรียน 4.หากไม่มีหลักฐานมาแสดงและเป็นผู้มีสิทธิสอบจริง ให้ผู้เข้าสอบบันทึกในแบบฟอร์มสำหรับผู้เข้าสอบปฏิบัติ ผิดระเบียบการสอบ (สทศ.5)
1.ให้เข้าสอบโดยนั่งในลำดับที่ต่อจากคนสุดท้าย ในห้องสอบสุดท้าย ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ กรณีที่ 1 ผู้เข้าสอบไม่มีชื่อในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) เนื่องจากทางโรงเรียนได้ขอเพิ่มข้อมูลภายหลังที่ สทศ.ได้ประกาศเลขที่นั่งสอบแล้ว หรือมีการเปลี่ยนแปลงสนามสอบ ซึ่งได้รับการตรวจสอบและอนุญาตจาก สทศ.ให้เข้าห้องสอบนั้นได้ 1.ให้เข้าสอบโดยนั่งในลำดับที่ต่อจากคนสุดท้าย ในห้องสอบสุดท้าย 2.ใช้แบบทดสอบสำรองและกระดาษคำตอบสำรอง 3.ลงชื่อในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ(สทศ.3)
กรรมการคุมสอบกำกับผู้เข้าสอบกรอกข้อมูล 1. - ชื่อ-สกุล /เลขบัตรประชาชน/ ชื่อสนามสอบ /ห้องสอบ /วันที่สอบ ด้วยปากกา 2. เลขที่นั่งสอบ ด้วยปากกา 3. ระบายเลขที่นั่งสอบ ที่ สทศ.ออกให้ด้วยดินสอ 2B 4.ลงลายมือในช่อง “ลายมือชื่อผู้เข้าสอบ” 5.กรรมการคุมสอบใช้ดินสอบ 2B ระบายในช่อง พ “ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ” และลงลายมือชื่อกรรมการคุมสอบทั้ง 2 คน
1.ให้สนามสอบตรวจสอบหลักฐานว่าเป็นนักเรียนระดับชั้นนั้นที่จะเข้าสอบ ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ กรณีที่ 2 ผู้เข้าสอบที่ทางโรงเรียนไม่ได้ส่งรายชื่อนักเรียนในการเข้าสอบและไม่มีข้อมูลเป็นรายชื่อผู้มีสิทธิสอบ (walk in) 1.ให้สนามสอบตรวจสอบหลักฐานว่าเป็นนักเรียนระดับชั้นนั้นที่จะเข้าสอบ 2.เขียนคำร้องในแบบฟอร์มสำหรับผู้ปฏิบัติผิดระเบียบการสอบ (สทศ.5) 3.ให้เข้าสอบโดยนั่งในลำดับที่ต่อจากคนสุดท้าย ในห้องสอบสุดท้าย 2.ใช้แบบทดสอบสำรองและกระดาษคำตอบสำรอง 3.ลงชื่อในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ(สทศ.3)
กรรมการคุมสอบกำกับผู้เข้าสอบกรอกข้อมูล 1. - ชื่อ-สกุล /เลขบัตรประชาชน/ ชื่อสนามสอบ /ห้องสอบ /วันที่สอบ ด้วยปากกา 2. ไม่ต้องกรอกเลขที่นั่งสอบ (ให้เว้นว่าง) 3. ไม่ต้องระบายเลขที่นั่งสอบ (ให้เว้นว่าง) 4.ลงลายมือในช่อง “ลายมือชื่อผู้เข้าสอบ” 5.กรรมการคุมสอบใช้ดินสอบ 2B ระบายในช่อง พ “ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ” และลงลายมือชื่อกรรมการคุมสอบทั้ง 2 คน
การเก็บกระดาษคำตอบ 1.นำกระดาษคำตอบหุ้มด้วยใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ(สทศ.3) บรรจุใส่ซองกระดาษคำตอบ ซึ่ง สทศ.ได้จัดเตรียมซองกระดาษคำตอบสำหรับผู้เข้าสอบกรณีพิเศษให้แต่ละรายวิชาโดยเฉพาะ โดยยังไม่ต้องปิดผนึกซอง -นำใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (สทศ.3) “สำหรับสนามสอบส่งคืนศูนย์สอบ ศูนย์สอบเก็บไว้”
จากเดิมที่ต้องใส่กระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบกรณีพิเศษในซองกระดาษคำตอบห้องสุดท้าย ซึ่งบางสนามสอบเก็บมาไม่ครบ สทศ. จึงดำเนินการจัดเตรียมซองกระดาษคำตอบกลับสำหรับผู้เข้าสอบกรณีพิเศษแยกต่างหากวิชาละ 1 ซอง หากในสนามสอบไม่มีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษสนามสอบต้องส่งซองคืนกลับ สทศ. เหมือนเดิม
สทศ. จึงดำเนินการจัดเตรียมซองสำหรับใส่เอกสาร สทศ. 5 และ สทศ สทศ. จึงดำเนินการจัดเตรียมซองสำหรับใส่เอกสาร สทศ.5 และ สทศ.6 ให้กับสนามสอบ หากสนามสอบมีเอกสารดังกล่าวให้รวบรวมใส่ซองดังกล่าวนำส่งศูนย์สอบพร้อมกล่องกระดาษคำตอบ และศูนย์สอบรวบรวมซองเอกสารพร้อมกล่องกระดาษคำตอบให้กับ สทศ. ในวันที่ไปรับกระดาษคำตอบ
ปัญหาที่พบ
นักเรียนย้ายมาหลังจากที่โรงเรียนส่งข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ต้องทำอย่างไร(เช่นนายเอ เดิมศึกษาอยู่โรงเรียน ก ย้ายมาศึกษาที่โรงเรียน ข) -หากย้ายเข้า-ออกก่อนสิ้นเดือนตุลาคม 2557 ให้โรงเรียน ก เข้าไปลดข้อมูลนักเรียนคนดังกล่าว ในระบบ ส่วนโรงเรียน ข เข้าไปเพิ่มข้อมูลผ่านระบบ ซึ่งนักเรียนจะมีรายชื่อชื่อในใบเซ็นชื่อ -หากโรงเรียน ก.ไม่แจ้งลดรายชื่อ เมื่อ สทศ.ประกาศเลขที่นั่งสอบในวันที่ 5 มกราคม 2558 นาย ก.จะมีเลขที่นั่งสอบ 2 โรงเรียน ขอให้เลือกใช้เลขที่นั่งสอบของโรงเรียน ข ส่วนโรงเรียน ก ให้ถือว่าขาดสอบไม่ต้องหานักเรียนมานั่งสอบแทน
นักเรียนไม่มีเลขบัตรประจำตัวประชาชน -นักเรียนที่ไม่มีเลขบัตรประจำตัวประชาชน ขอให้ใช้รหัสโรงเรียน 10 หลัก แล้วเรียงต่อด้วย 001 ไม่ได้แจกแบบทดสอบเรียงตามลำดับเป็นรูปตัว U ผู้เข้าสอบเริ่มทำแบบทดสอบแล้ว -ให้ผู้เข้าสอบทำแบบทดสอบในรหัสชุดวิชาข้อสอบที่ได้รับ ไม่ต้องเก็บแบบทดสอบกลับคืน แต่ขอให้กรรมการคุมสอบตรวจดูว่าผู้เข้าสอบได้ระบายชุดข้อสอบและเขียนรหัสชุดข้อสอบที่ตนได้รับถูกต้อง ห้ามกรรมการคุมสอบมาแก้รหัสชุดข้อสอบในภายหลัง
โรงเรียนส่งรายชื่อมาแล้ว ทำไมไม่มีรายชื่อนักเรียน -การส่งรายชื่อนักเรียน ครั้งนั้นอาจไม่สมบูรณ์ ดังนั้น เมื่อกดนำส่งข้อมูลแล้ว ขอให้ตรวจสอบตรงเมนูรายชื่อผู้มีสิทธิสอบอีกครั้ง โรงเรียนควรตรวจสอบเพื่อยืนยันข้อมูลอีกครั้ง นักเรียนนั่งสอบผิดที่ (เช่นนาย ก ไปนั่งที่นาย ข และใช้กระดาษคำตอบ นาย ข ในการสอบ ต้องเปลี่ยนกระดาษคำตอบให้นาย ก หรือไม่ -ห้ามนักเรียนใช้กระดาษคำตอบที่ไม่ใช่ชื่อหรือเลขที่นั่งสอบของตนเอง ต้องดำเนินการแก้ไขโดยใช้กระดาษคำตอบสำรอง เพื่อให้ได้ผลคะแนนที่ถูกต้อง
แบบทดสอบถูกเปิดก่อนการสอบ -ปฏิเสธการรับแบบทดสอบ รับรายงานหัวหน้าสนามสอบเพื่อแจ้งศูนย์สอบ นักเรียนไม่มีเลขที่นั่งสอบหรือไปผิดสนามสอบ -หน.สนามสอบตรวจสอบหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนได้ศึกษาระดับชั้นนั้น แจ้งขออนุมัติจากศูนย์สอบ นักเรียนเขียนคำร้องในแบบ สทศ.5 เพื่อขออนุญาตในการเข้าสอบและแนบหลักฐาน เพื่อส่ง สทศ.พิจารณา
ผู้เข้าสอบนั่งสอบผิดที่ โดยใช้กระดาษคำตอบแบบลงข้อมูลที่ไม่ใช่ของตนเอง -กรรมการคุมสอบนำกระดาษคำตอบสำรองมาเปลี่ยนให้กับผู้เข้าสอบและตรวจสอบกระดาษคำตอบที่นำมาตรงกับรายวิชาที่สอบ และให้ผู้เข้าสอบระบายรหัสชุดวิชาข้อสอบที่ได้รับพร้อมทั้งกรอกข้อมูลบนหัวกระดาษคำตอบให้ครบถ้วน -ส่วนกระดาษคำตอบที่ได้ทำไปแล้ว ให้กรรมการคุมสอบระบายตรงช่อง “ย” กรณียกเลิกกระดาษแผ่นนี้และเก็บส่งคืน สทศ. ผู้เข้าสอบที่มาสายแต่ไม่เกิน 30 นาทีหลังจากเริ่มสอบ -สามารถอนุญาตเข้าห้องสอบได้แต่จะไม่ได้รับการต่อเวลาในวิชานั้น
นักเรียนขาดสอบนำไปคิดค่าสถิติหรือไม่ -นักเรียนที่ขาดสอบไม่นำไปค่าสถิติ ผู้เข้าสอบที่มาสายเกิน 30 นาทีหลังจากเริ่มสอบ -ให้ติดต่อ หน.สนามสอบเพื่อพิจารณา หากมาสายด้วยเหตุสุดวิสัยให้เขียนคำร้อง ในแบบ สทศ.5 รายการการปฏิบัติผิดระเบียบการสอบ ก่อนอนุญาตให้เข้าห้องสอบ ส่วนการประกาศคะแนนให้อยู่ในดุลยพินิจของ สทศ.
ผู้เข้าสอบไม่ใช้ดินสอ 2B ระบายคำตอบ -หากยังไม่หมดเวลาอาจให้กระดาษคำตอบสำรองเพื่อให้ผู้เข้าสอบระบายคำตอบใหม่ หากหมดเวลาให้ยึดตามที่ผู้เข้าสอบระบายมา เนื่องจากได้แจ้งแล้ว กรณีกรรมการคุมสอบได้เก็บรวบรวมกระดาษคำตอบและบรรจุใส่ซองกระดาษคำตอบใส่ซองกระดาษคำตอบและปิดทับด้วยเทปกาวพิเศษแบบทำลายตัวเอง โดยที่กรรมการกลางยังไม่ตรวจนับ -ให้กรรมการกลางเปิดซองกระดาษคำตอบดังกล่าว เพื่อตรวจนับจำนวนกระดาษคำตอบ ให้ครบถ้วน และปิดผนึกซองกลับคืนพร้อมทั้งเซ็นกำกับที่ปากซองกระดาษคำตอบและระบุเหตุผลที่เปิดซอง
ผู้เข้าสอบไม่ได้เซ็นชื่อบนกระดาษคำตอบหรือบนใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ(สทศ.2) -เป็นหลักฐานที่แสดงว่าผู้เข้าสอบได้เข้าสอบจริง มีผลต่อการตรวจสอบของคณะทำงาน หากไม่สามารถติดตามให้ผู้เข้าสอบลงลงรายชื่อได้ ขอให้กรรมการคุมสอบเขียนรายงานยืนยันการเข้าสอบของผู้เข้าสอบมาเป็นหลักฐาน ส่งกระดาษคำตอบของผู้ขาดสอบหรือกระดาษที่ยกเลิกคืน สทศ. -กระดาษคำตอบทุกแผ่นจะถูกนำเข้าเครื่องอ่านเพื่อประมวลผล กรณีขาดสอบกรรมการคุมสอบต้องระบายตรงช่อง “ข” กรณีขาดสอบเพื่อเป็นข้อมูลของบุคคลนั้น
ชื่อ-สกุล หรือข้อมูลบนกระดาษคำตอบคลาดเคลื่อนจากข้อมูลจริงของผู้เข้าสอบ เช่น ตัวสะกดผิด เลขบัตรประจำตัวประชาชนผิด -ไม่ต้องเปลี่ยนกระดาษคำตอบสำรอง ให้ผู้เข้าสอบเขียนใบคำร้องขอแก้ไขข้อมูล (สทศ.6) พร้อมแนบหลักฐานส่งให้ สทศ.พร้อมกระดาษคำตอบ เพื่อ สทศ.แก้ไข ตอนประกาศผลคะแนน กรรมการคุมสอบรวบรวมกระดาษคำตอบแล้วพบว่ามีจำนวนไม่ครบถ้วน -ให้กรรมการคุมสอบตรวจสอบในแบบทดสอบและบริเวณห้องสอบว่าตกหล่นหรือไม่และต้องค้นหาให้พบเนื่องจากกระดาษคำตอบมีผลต่อผู้เข้าสอบและต้องทำบันทึกแจ้ง หน.สนามสอบ ซึ่งกระดาษคำตอบจะต้องมีทั้งของผู้ขาดสอบและผู้เข้าสอบ
ผู้เข้าสอบออกจากห้องสอบก่อนหมดเวลาสอบ -ให้กรรมการคุมสอบเขียนรายงานแจ้ง หน.ห้องสอบ เพื่อส่ง สทศ.ในการพิจารณาเรื่องการประกาศผลคะแนนให้กับผู้เข้าสอบดังกล่าว การทุจริตระหว่างการสอบ -พบผู้กระทำผิดระเบียบการสอบ ให้กรรมการคุมสอบแจ้งให้ผู้กระทำผิดหยุดทำข้อสอบ แล้วเขียนรายงานการกระทำผิดและลงชื่อผู้กระทำ กรรมการคุมสอบ หน.สนามสอบลงชื่อพร้อมเสนอแนวทางการพิจารณา ส่ง สทศ. พิจารณาไม่ประกาศผลคะแนน
แบบทดสอบไม่ได้เรียงตามรหัสชุดข้อสอบ 100 200 300 400 500 600 ต้องดำเนินการอย่างไร ขอให้กรรมการคุมสอบแจกแบบทดสอบเป็นรูปตัว U ไม่ต้องดำเนินการสลับแบบทดสอบด้วยตนเอง กำกับ ตรวจสอบให้ผู้เข้าสอบระบายและกรอกรหัสชุดข้อสอบที่ได้รับให้ถูกต้อง
ตัวแทน สทศ.ประจำสนามสอบ ในวันสอบจะมีบุคลากร ครู อาจารย์และนักศึกษาระดับปริญญาเอก โท ตรี หรือนิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยของรัฐ เข้าสังเกตการปฏิบัติงานของสนามสอบและรายงานผลให้สถาบันทดสอบฯ ทราบ
ค่าตอบแทนการประชุม 1.ค่าตอบแทนสำหรับผู้เข้าประชุม เหมาจ่ายคนละ 200 บาท 2.ค่าพาหนะ เบิกตามระยะทาง กม.ละ 5 บาท (ตามบัญชีที่ศูนย์สอบจัดทำ)
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน 1.หัวหน้าสนามสอบ คนละ 550 บาท 2.กรรมการกลาง กรรมการคุมสอบ 450 บาท 3.นักการภารโรง 250 บาท *ปฏิบัติงานหนึ่งวัน = ภาคเช้า+ภาคบ่าย *ถ้าปฏิบัติงานเพียงภาคใดภาคหนึ่งให้ได้รับอัตราครึ่งหนึ่งของค่าตอบแทนหนึ่งวัน
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน หัวหน้าสนามสอบ และนักการภารโรงได้รับค่าตอบแทนในการเตรียมสถานที่สอบและจัดสนามสอบก่อนเปิดสนามสอบและวันหลังปิดสนามสอบอย่างละหนึ่งวัน - หัวหน้าสนามสอบ 400 บาท - นักการภารโรง 220 บาท
สนง.ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จ.นครราชสีมา(สถ.จ.นม.) ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา(ชั้น ๓) ถนนมหาดไทย อ.เมือง จ.นครราชสีมา โทร. ๐-๔๔๒๔-๘๘๐๓, ๐-๔๔๒๕-๖๖๐๘, ๐-๔๔๒๔-๕๕๒๐,๐-๔๔๒๔-๘๔๙๖ ต่อ ๓๑ ผู้รับผิดชอบ ๑. นายโชคชัย ศรีหิรัญรัตน์ 086 3299966 ๒. ส.อ.จิระพงศ์ ทราบพรมราช 092 3293737 www.koratdla.go.th