ประกันภัยความรับผิดเนื่องจากผลิตภัณฑ์ (Products Liability Insurance)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและ มีความมั่นใจในการตัดสินใจทำประกันภัย ความรับผิดเนื่องจากผลิตภัณฑ์ จุดสำคัญในการสัมมนา ลักษณะความรับผิด / ความคุ้มครอง ทำไมผู้ผลิตสินค้าจึงควรเอาประกันภัยฯ ตัวอย่างการเรียกร้อง / ฟ้องร้องคดีที่น่าสนใจ ข้อดี / จุดเด่นของการทำประกันภัย เอไอจี อัตราเบี้ยประกันภัยขั้นต่ำ ตลาดเป้าหมาย / กลุ่มธุรกิจและผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
ประกันภัยความรับผิดเนื่องจากผลิตภัณฑ์ ประกันภัยที่คุ้มครองความรับผิดตามกฎหมายของผู้เอาประกันภัย ต่อผู้บริโภคในความเสียหาย หรือความบาดเจ็บที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจาก ความบกพร่องของผลิตภัณฑ์ หรือสินค้านั้น ความรับผิดของผู้เอาประกันภัย จะมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับกฎหมาย ที่มีบังคับใช้ในท้องถิ่นนั้นๆ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจะแตกต่างกันไปตามแต่ว่าจะ กระทำในประเทศใด
ความคุ้มครองของกรมธรรม์ 1. ความบาดเจ็บทางร่างกาย (Bodily Injury) หมายรวมถึง การเจ็บป่วย บาดเจ็บ หรือเสียชีวิต 2. ความเสียหายต่อทรัพย์สิน (Property Damage) หมายรวมถึงการสูญเสียโอกาสการใช้ด้วย 3. ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการต่อสู้คดีความ (Legal Cost)
ลูกค้าที่มีความเสี่ยงภัยต่อความรับผิด 1. การออกแบบผลิตภัณฑ์ผิดพลาด - การออกแบบ / การกำหนดมาตรฐาน ของวัตถุดิบในการผลิตผิดพลาด ทำให้สินค้าชำรุดบกพร่องภายหลัง 2. ความผิดพลาดในขั้นตอนการผลิต - การผสมสารเคมีผิดพลาด 3. การให้ข้อมูลที่ผิดพลาดโดยผู้ผลิต - ให้ข้อมูล / ข้อบ่งใช้ผลิตภัณฑ์ผิดพลาด / ไม่แจ้งให้ทราบถึงอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นหากขาดความระมัดระวัง / ฉลากสินค้า
ทำไมผู้ผลิตสินค้าจึงควรทำประกันภัยความรับผิดต่อผลิตภัณฑ์ ความเสี่ยงภัยในอนาคต (Uncertain Future) ความผิดพลาดในการผลิต อาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลา การเปลี่ยนแปลงของระบบกฎหมาย (Consumer Protection Law) สภาพบังคับที่จำเป็นต้องมีประกันภัย (Forced Purchase Insurance) ในการส่ง สินค้าไปจำหน่ายในประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น หรือ สหภาพยุโรป ฯลฯ ความรู้ความเข้าใจของผู้บริโภคที่สูงขึ้น (Consumer Awareness) ผู้บริโภค ทั่วโลกเริ่มหันมาสนใจในสิทธิของตนมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการฟ้องร้องคดีต่อ ผู้ผลิต (Manufacturer) และผู้แทนจำหน่ายต่างๆ (Distribution Chain)
ทำไมผู้ผลิตสินค้าจึงควรเอาประกันภัยความรับผิดต่อผลิตภัณฑ์ (ต่อ) ความรับผิดในระยะยาว (Long-tail Liability) ผู้ผลิตสินค้าไฟฟ้า รายหนึ่งใน ญี่ปุ่นต้องรับผิดในกรณีกระแสไฟฟ้าทำให้เกิดอันตรายทางสมอง แก่เด็ก อายุ 2 ปี ผู้ปกครองฟ้องร้องที่ว่าไม่มีการติดคำเตือนบนผลิตภัณฑ์ ต่อสู้คดีกัน ในศาลนิวยอร์คถึง 10 ปี และสุดท้ายต้องจ่ายค่าเสียหาย เป็นเงิน 27 ล้านเหรียญสหรัฐ ค่าใช้จ่ายในการต่อสู้คดี (Defense Costs) มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การเรียกร้องค่าเสียหายที่สูงขึ้น เพิ่มขึ้น 90% ระหว่าง 5 ปีที่ผ่านมา
ตัวอย่างกรณีศึกษา เยลลี่ ติดคอเด็ก จ่ายค่าสินไหมกว่า US$121.7 Million เครื่องปรับอากาศ เป็นต้นเหตุเพลิงไหม้คร่าชีวิตเด็กอายุ 9 ขวบ เป็นเพราะลดต้นทุนในการใช้พลาสติกแทน ซิลเวอร์ สำหรับโครงสร้างของ คอมเพรสเซอร์ซึ่งติดไฟได้ง่ายกว่า
จุดเด่น Products Liability Insurance ของเอไอจี อาณาเขตความคุ้มครอง สามารถให้ความคุ้มครอง ทั่วโลก ความสามารถในการรับประกันภัย วงเงินความรับผิดสูงสุดต่อกรมธรรม์ 50 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ 2,000 ล้านบาท เครือข่ายและผู้เชี่ยวชาญที่ชำนาญในการจัดการกับการเรียกร้องต่างๆ ในแต่ละพื้นที่ กว่า 130 ประเทศ (Claim Network Service) อุ่นใจกับบริษัทประกันภัยที่มีความมั่นคงทางการเงินและเป็นผู้นำด้านนวัตกรรม ทีมงานพิจารณารับประกันภัยมืออาชีพ
เบี้ยประกันภัยขั้นต่ำต่อกรมธรรม์ ทั่วโลก ยกเว้น อเมริกา / แคนนาดา หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการกำหนดเบี้ยประกันภัย คำนวณเบี้ยประกันภัยจาก ยอดขายหรือรายได้ อาณาเขตความคุ้มครอง ประเภทของสินค้า เบี้ยประกันภัยขั้นต่ำต่อกรมธรรม์ 100,000 บาท 60,000 บาท 25,000 บาท อาณาเขตความคุ้มครอง อเมริกา / แคนนาดา ทั่วโลก ยกเว้น อเมริกา / แคนนาดา เฉพาะประเทศไทย
ประเภทสินค้ากลุ่มเป้าหมาย
อาหารและเครื่องดื่ม ยกเว้น อาหารผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น อาหารกระป๋อง อาหารแห้ง อาหารสดที่มีบรรจุภัณฑ์ และอาหารทะเลแช่แข็ง ผลไม้ (กระป๋อง) เครื่องดื่มต่างๆ ยกเว้น อาหารเด็กทารก
ชิ้นส่วนอุปกรณ์ อิเลคทรอนิคส์ คอมพิวเตอร์ / อุปกรณ์ความพิวเตอร์ แผงวงจรไฟฟ้า (Circuit Board) สารกึ่งตัวนำ (Semi-Conductor)
สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เสื้อผ้า สิ่งทอประเภทต่างๆ ยกเว้น เสื้อผ้าเด็กทารก ชุดนอนเด็กทารก
อุปกรณ์และชิ้นส่วนตกแต่งรถยนต์ ตัวอย่างเช่น ใบปัดน้ำฝน พวงมาลัยรถยนต์ เบาะรถยนต์ และ อื่นๆ ยกเว้น อุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัย เช่น ถุงลมนิรภัย (Airbag), เข็มขัดนิรภัย, ABS, ระบบห้ามล้อ (เบรก)
ข้อมูลที่ควรทราบ 1. ประเภทของสินค้า 2. ประเทศที่ส่งสินค้าออก 3. มูลค่าการขายรวม และแยกตามประเทศ 4. มีข้อบังคับให้ทำประกันภัยจากคู่ค้าหรือไม่ 5. มีมาตรฐานรับรองคุณภาพสินค้าหรือไม่ เช่น อย, มอก, HACCP และ อื่นๆ
สื่อสนับสนุนการขาย สื่อสนับสนุนอื่นๆ เช่น จัดอบรมให้กับ พนักงาน ตัวแทน การนำเสนอ (Presentation) แผ่นพับโฆษณา (Brochure) แผนการประกันภัย
แนวโน้มการรับประกันภัย
ถาม ตอบ